ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
Human Computer Interaction
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ การประเมินผลโปรแกรมที่ออกแบบโดยยึดผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง และระบบปฏิสัมพันธ์ภายใต้สิ่งแวดล้อมการประมวลผลที่ต้องการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการความรู้ ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดและความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ การบูรณาการองค์ความรู้ในเรื่องของการรับรู้ ความรู้ความเข้าใจ อารมณ์ ประสบการณ์ และการกระทำของมุนษย์ รวมถึงผู้บกพร่องในการรับรู้ที่ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยี เทคโนโลยีด้านอินพุตและเอาต์พุต กระบวนการในการพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้ การออกแบบและพัฒนา ส่วนติดต่อผู้ใช้โดยให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง การทดสอบ ประเมินผลการใช้งานและสภาวะแวดล้อมของการใช้งาน การปรับปรุงส่วนติดต่อผู้ใช้งาน กรณีศึกษาธุรกิจโดยใช้แนวคิดของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลสงวนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
1.2.2 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
1.2.3 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
1.2.3 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.1 การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.2 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1.3.2 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจ อารมณ์ ประสบการณ์ และการกระทำของมุนษย์ รวมถึงผู้บกพร่องในการรับรู้ที่ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยี
2.1.3 มีทักษะในการออกแบบและพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้ โดยให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจ อารมณ์ ประสบการณ์ และการกระทำของมุนษย์ รวมถึงผู้บกพร่องในการรับรู้ที่ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยี
2.1.3 มีทักษะในการออกแบบและพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้ โดยให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง
2.2.1 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติตามใบงาน
2.2.3 ฝึกปฏิบัติการปรับปรุงส่วนติดต่อผู้ใช้งาน กรณีศึกษาธุรกิจโดยใช้แนวคิดของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติตามใบงาน
2.2.3 ฝึกปฏิบัติการปรับปรุงส่วนติดต่อผู้ใช้งาน กรณีศึกษาธุรกิจโดยใช้แนวคิดของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากผลงานการทำแบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติในห้องเรียน
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้า
2.3.2 ประเมินจากผลงานการทำแบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติในห้องเรียน
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้า
พัฒนากระบวนการในการพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้ การออกแบบและพัฒนา ส่วนติดต่อผู้ใช้โดยให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง การทดสอบ ประเมินผลการใช้งานและสภาวะแวดล้อมของการใช้งาน
3.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าทำรายงานตามหัวข้อที่กำหนดให้และนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
3.2.2 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา
3.2.2 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา
3.3.1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
3.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วยตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วยตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4.2.2 สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย
4.2.2 สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย
4.3.1 ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
5.1.1 พัฒนาทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งความรู้ต่างๆ
5.2.2 นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
5.3.2 ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1-2 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 | 6 | 10% |
2 | 1-5 | สอบกลางภาค | 9 | 20% |
3 | 4-8 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 | 13 | 10% |
4 | 6-10 | สอบปลายภาค | 16 | 30% |
5 | ทุกหน่วยการเรียนรู้ | งานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม (ความตรงต่อเวลา, วิธีการนำเสนองาน, ความถูกต้องสมบูรณ์ของงาน, การตอบคำถาม) | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
6 | ทุกหน่วยการเรียนรู้ | การเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายและความประพฤติ | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ณรงค์ ล่ำดี. (2550). การออกแบบอินเตอร์เฟส (Interface Design). กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ. (2559). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ. (2559). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมความรู้ต่าง ๆ มากมาย
1.1 การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.2 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.2 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2.1 สังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะถูกนำมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการปรับปรุงและเรียบเรียงเนื้อหาในการสอนใหม่ ให้มีความทันสมัย มีประโยชน์ และให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจของนักศึกษายิ่งขึ้น
ตรวจสอบผลประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ หรือแนวทางในการออกแบบปฏิสัมพันธ์ที่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลางในการออกแบบ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ หรือแนวทางในการออกแบบปฏิสัมพันธ์ที่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลางในการออกแบบ