โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์

Programmable Controller

ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจจัดในกระบวนการควบคุมแบบลำดับ การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์ การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ การเขียนคำสั่งบูลีน ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรมและภาษาคำสั่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานควบคุม  การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หลักการเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือและการควบคุมให้เหมาะสมและประยุกต์ใช้งาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจจัดในกระบวนการควบคุมแบบลำดับ  การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์ การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ การเขียนคำสั่งบูลีน ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรมและภาษาคำสั่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานควบคุม  การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หลักการเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือและการควบคุมให้เหมาะสมและประยุกต์ใช้งานได้ตามยุคสมัย
        ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจจัดในกระบวนการควบคุมแบบลำดับ การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์ การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ การเขียนคำสั่งบูลีน ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรมและภาษาคำสั่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานควบคุม  การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หลักการเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือและการควบคุมให้เหมาะสมและประยุกต์ใช้งาน
ให้คำปรึกษาผ่านระบบโซเชียลเนตเวิร์ค เช่น ไลน์ หรือเฟสบุค ทั้งการคุยโต้ตอบทันทีและการฝากข้อความทิ้งไว้ใน E-mail และมีการตอบภายหลัง โดยนักศึกษาสามารถขอคำปรึกษาผ่านทางระบบนี้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง หรือใช้ช่องทางโทรศัพท์ปรึกษาระยะสั้น ใน 8 ชั่วโมงของทุกวันและเวลาราชการ
ปลูกฝังความมีวินัย ใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบและความมีน้ำใจ
สอดแทรกกรณีศึกษาและตัวอย่างระหว่างการเรียนการสอนในรายวิชา
ประเมินจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษา ได้แก่ พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การทุจริตในการสอบ และจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจจัดในกระบวนการควบคุมแบบลำดับ การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์  การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการ  โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์  การเขียนคำสั่งบูลีน  ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรมและภาษาคำสั่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานควบคุม  การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม  หลักการเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือและการควบคุมให้เหมาะสมและประยุกต์ใช้งาน
การบรรยายหลักการทางทฤษฎี การประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงปัจจุบันและการมอบหมายรายงานตามโจทย์ปัญหาในชีวิตประจำวัน
ผลการนำเสนองานรายบุคคล ผลการนำเสนองานรายกลุ่ม ผลการทดสอบและวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณให้สอดคล้องตามหลักความเป็นจริง มีการวิเคราะห์ทั้งในแง่ผู้เขียนโปรแกรมและผู้ใช้โปรแกรม เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดังนี้
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1 บรรยายเนื้อหาเรื่อง Programmable Controller
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 กรณีศึกษาทางการใช้งาน Programmable Controller
3.2.4 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริงด้วยการทดลองใช้ Programmable Controller
3.2.5 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา มีแนวคิดของการแก้ปัญหา และหรือมีการวิเคราะห์แนวคิดในการใช้ Programmable Controller
3.3.2 วัดผลจากการประเมินวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
3.3.3 วัดผลจากทักษะการใช้งาน Programmable Controller ตามสภาพจริงของนักศึกษา
3.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบสัมภาษณ์
3.3.5 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน พัฒนาความเป็นผู้ใช้ Programmable Controller ได้อย่างชำนาญ พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองพร้อมทั้งมีความรับผิดชอบในการใช้ Programmable Controller ได้ในเวลาที่กำหนด สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขความผิดพลาดเฉพาะหน้าจากการใช้ Programmable Controller ได้อย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของส่วนรวม โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดังนี้
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาจากการใช้ Programmable Controller
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อนร่วมห้องเรียน
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทางานเป็นทีม ในชั้นเรียน
4.3.3 ประเมินจากสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ได้
พัฒนาทักษะการใช้งาน Programmable Controller ผสมผสานกับการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาทักษะในการประยุกต์ใช้งาน Programmable Controller ได้ พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดังนี้
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาแก้ปัญหา วิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ อาจมีการวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์กับกลุ่มนักศึกษา
5.2.4 ให้นักศึกษาลงมือสร้างอุปกรณ์เก็บข้อมูลและเขียนโปรแกรมด้วยตนเองเพื่อพิสูจน์ผลจากการวิเคราะห์
5.3.1 ประเมินจากผลลัพธ์การรันโปรแกรม และแสดงรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้คำสั่งต่างๆ จากการเขียนโปรแกรม
5.3.3 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
5.3.4 กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
สามารถใช้ Programmable Controller อย่างถูกต้อง ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมได้อย่างเป็นระบบ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดังนี้
6.1.1 สามารถใช้อุปกรณ์ เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง ปฏิบัติการอย่างเป็นระบบและปลอดภัย
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการใช้ Programmable Controller  
6.2.2 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
6.2.3 แสดงความชื่นชมในความสามารถและให้รางวัลแก่นักศึกษาที่มีผลงานการฝึกปฏิบัติดี
6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์ และลงมือเขียนโปรแกรมด้วยใจ
6.2.5 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการเขียนโปรแกรมและดูแลฝึกทักษะตลอดเวลา
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเขียนโปรแกรมและจดบันทึก
6.3.2 สร้างแบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานเขียนโปรแกรม
6.3.3 พิจารณาผลการปฏิบัติงานเขียนโปรแกรม รวมทั้งงานที่มอบหมาย
6.3.4 ให้คะแนนผลการปฏิบัติงานเขียนโปรแกรมในด้านต่างๆ โดยเปิดเผย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2.มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 4.สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 5.สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 1.มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 1.มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 2.มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 1.มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 32085303 โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2 สอบกลางภาค(ปฏิบัติ) สอบกลางภาค สอบปลายภาค(ปฏิบัติ) สอบปลายภาค 8 9 17 18 10% 25% 10% 25%
2 1.3, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2 ประเมินผลแบบฝึกหัด ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.3 , 4.3 การเข้าชั้นเรียนการมีส่วนร่วมปฏิบัติงานในกลุ่ม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทล. อาจารย์ธรายุทธ  กิตติวรารัตน์
ไม่มี
ทุกๆ เว็บไซต์ที่ค้นหาในอินเตอร์เน็ต โดยให้ป้อนคำว่า “โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทล” หรือ “Programmable Controller” บน Search Engine
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ