ธุรกิจการบิน

Airline Business

          1.1 เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน ภูมิศาสตร์การบิน กฎและระเบียบการจราจรทางอากาศ ตารางเวลากำหนดการบิน ชนิดของเครื่องบินและประสิทธิภาพการบิน
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับงานบริการภาคพื้นดินและบนเครื่องบิน ระบบ การจอง การออกบัตรโดยสารและการคิดคำนวณค่าโดยสาร ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสำรองที่นั่ง สายการบิน การจัดทำเอกสาร
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระเบียบพิธีการเข้า-ออกระหว่างประเทศ การขนส่งและ พัสดุภัณฑ์ทางอากาศ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในธุรกิจการบินรวมทั้งการออกบัตรโดยสารซึ่งมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและเป็นธุรกิจที่มีความเจริญเติบโตอย่างยิ่งในปัจจุบัน และให้มีความรู้ต่อธุรกิจการบินที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน ภูมิศาสตร์การบิน กฎและระเบียบการจราจรทางอากาศ ตารางเวลากำหนดการบิน ชนิดของเครื่องบินและประสิทธิภาพการบิน งานบริการภาคพื้นดินและบนเครื่องบิน ระบบการจอง การออกบัตรโดยสารและการคิดคำนวณค่าโดยสาร ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสำรองที่นั่งสายการบิน การจัดทำเอกสาร และระเบียบพิธีการเข้า-ออกระหว่างประเทศ การขนส่งและพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ และศึกษาดูงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ด้านคุณธรรมจริยธรรม   1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1.1.1 2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.1.1.2   3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ 2.1.1.3   4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 2.1.1.4
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน   ü 2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ   ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ   ü 5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ   ü 6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย   ü 2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน   ü 3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน     4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก     5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ด้านความรู้ 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.1   2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ   ü 2. มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม   ü 3. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ   ü 4. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง   ü 5. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน     6. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ     7. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน   ü 2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค   ü 3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน     4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะทางปัญญา 1. มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.3.1.1   2. สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 2.3.1.2   3. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.3.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย   ü 2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม   ü 3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นทีม   ü 4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ   ü 5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการ การควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ   ü 2. การสอบข้อเขียน   ü 3. การเขียนรายงาน  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ   1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่มได้ มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 2.4.1.1   2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรง ตามมาตรฐานสากล 2.4.1.2 3. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ประเมินจากประวัติสะสมงาน การประเมินตนเอง การประเมินซึ่งกันและกัน ผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน 2.4.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ   ü 2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม   ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา  
รายละเอียดวิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน   ü 2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)     3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน   ü 4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน     5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.5.1.1 2. สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.5.1.2 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.3 - 4. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล 2.5.1.4
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยการสอบปฏิบัติ   ü 2. จัดห้องปฏิบัติการ ฝึกให้ใช้อุปกรณ์ทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน ฯลฯ   ü 3. ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน   ü 4. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่
สามารถทำได้     5. ฝึกแก้ปัญหาหรือโจทย์ที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่ เกี่ยวข้อง  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ   ü 2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน     3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์     4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 3.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 4.มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1.มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ 1.มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 1.มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2.มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3.มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 1.มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3.มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 1.มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOATH109 ธุรกิจการบิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, 3.1 -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค 8 และ 16 60%
2 2.1, 3.1, 4.1, 5.1 -วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน -การทำงานกลุ่มและผลงาน -การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30 %
Budd, L., & Ison, S. (Eds.). (2016). Air Transport Management: An International Perspective. Taylor & Francis.
พรนพ พุกกะพันธุ์. (2548). ธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นระ คมนามูล. (2551). เทคโนโลยีการบินและกิจการท่าอากาศยาน. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือแพร่วิทยาการเพื่อการพัฒนาประเทศ.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). อุตสาหกรรมการบินและการจัดจำหน่ายตั๋วโดยสาร. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซด์
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2551). ธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทของบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยต่างๆในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินและการออกตั๋วโดยสารตลอดจนรายงานการวิจัยต่างๆ และรายงานประจำปีขององค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
วารสารวิชาการ วารสารด้านการวิจัย นิตยสาร รายงานการดำเนินงานประจำปีขององค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง ที่นักศึกษาสามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลได้ด้วยตนเอง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา คือ การทวนสอบโดยวิธีการสอบย่อย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เชิญอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากรภายนอกเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในธุรกิจการบินได้