การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ

Press Tools and Dies Design

ศึกษาเกี่ยวกับการหลักการตัด และกดยึดชิ้นงานด้วยแม่พิมพ์ วิธีการออกแบบแม่พิมพ์ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ผลของแรงตัดและการเปลี่ยนรูปร่างชิ้นงานขึ้นรูป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการตัด และกดยึดชิ้นงานด้วยแม่พิมพ์ วิธีการออกแบบแม่พิมพ์ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ผลของแรงตัดและการเปลี่ยนรูปร่างชิ้นงานขึ้นรูป
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
บรรยายสอดแทรกเรื่องราวทางคุณธรรมจริยะรรม ร่วมกับเนื้อหาทางวิชาการ
จากการสังเกต การมอบหมายงาน ความรับผิดชอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมแม่พิมพ์
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
 2.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1. การบรรยายเนื้อหาทางทฤษฏี
2. การฝึกปฏิบัติการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์
3. การฝึกปฏิบัติการเขียนแบบแม่พิมพ์
1. งานที่มอบหมาย
2. การสอบเก็บคะแนน สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. การบรรยายเนื้อหาทางทฤษฏี
2. การฝึกปฏิบัติการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์
3. การฝึกปฏิบัติการเขียนแบบแม่พิมพ์
1. งานที่มอบหมาย
2. การสอบเก็บคะแนน สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.5 มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1. การมอบหมายงานเป็นกลุ่มในการฝึกปฏิบัติ
2. การมอบหมายงานเป็นกลุ่มในการออกแบบและเขียนแบบแม่พิมพ์
คะแนนงานที่ได้มอบหมายงานฝึกปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1. การบรรยายเนื้อหาทางทฤษฏี
2. การนำเสนองานวิจัยที่ได้รับมอบหมาย
 
1. การสอบเก็บคะแนน
2. การนำเสนองานวิจัยที่ได้รับมอบหมาย
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. การทำงานจิตอาสา
2. การทำงานบริการ
1. คะแนนจิตพิสัยการมาเรียน
2. คะแนนจิตพิสัยการทำงานบริการและจิตอาสา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณะรรมจริยะรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 34061302 การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
 แม่พิมพ์ตัดขึ้นรูปโลหะแผ่น , สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ
คู่มือการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ขนาดเล็ก ,ชาญ  ถนัดงานและคณะ , สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยมหาวิทยาลัยฯ มีแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาโดยนักศึกษาต้องประเมินผ่านระบบ Internet ถ้านักศึกษาคนใดไม่ประเมินผลรายวิชา เกรดวิชานั้นจะไม่ออกให้
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- ผลงานภาคปฏิบัติที่จ่ายให้ตามใบงาน
- จิตพิสัยในการเรียนและการปฏิบัติงาน
- พัฒนาสื่อการสอนและใบงาน
- เพิ่มเติมความรู้นักศึกษาส่วนที่ขาดทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา การให้แบบฝึกหัดและมอบหมายงานให้ไปทำ การตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการสอบกลางภาค และปลายภาค
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี เพื่อให้เหมาะสมกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี