ภาษาอังกฤษเทคนิค

Technical English

1. พัฒนาทักษะการฟังพูดเพื่อสื่อสารในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ  2. เข้าใจสาระสำคัญ และสรุปความจากการอ่านและฟังเกี่ยวกับวิชาชีพ  3. เขียนโครงการ รายงาน และบันทึกเกี่ยวกับวิชาชีพ  4. นำเสนอโครงการ ผลงาน และรายงานเกี่ยวกับวิชาชีพ  5. ตระหนักในความสำคัญของการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในการประกอบอาชีพ
1. เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม (Ethics) ทักษะทางสังคม (Social) ความรู้ (Knowledge) และทักษะการทำงาน
2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนมีทักษะด้านภาษา สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ถูกต้องและนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง โดยเป็นไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาและมีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สามารถรู้เท่าทันเหตุการณ์และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
ฝึกปฏิบัติทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับทักษะชีวิต สังคม วัฒนธรรม และการทำงาน
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
[2] 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
[2] 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
[1] 1.1.3 มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
[2] 1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัยในชั้นเรียน การตรงต่อเวลา และพฤติกรรมในการเรียน
- สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียน โดยเน้นการมีจิตสานึก การรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้อื่น โดยให้ระบุที่มาของแหล่งข้อมูลอย่างชัดเจน
- ส่งเสริมให้นักศึกษารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทาความดีและเสียสละ
- จากการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล มีการอ้างอิงเอกสารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลาและมีประสิทธิภาพ และการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- จากการสอบถามการดำเนินชีวิตประจำวันของนักศึกษา
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
[1] 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาสา
[2] 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
[2] 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง           
- บรรยายและฝึกปฏิบัติในห้องเรียนหรือห้องปฏิบัติการภาษา
- จัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่น สื่ออิเลกทรอนิกส์ แล้วนามาอภิปรายในชั้นเรียน
- มอบหมายให้นำเสนอผลงาน ทั้งในรูปแบบรายงานและปากเปล่า
- มอบหมายให้นักศึกษานาภาษาที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ นอกห้องเรียน
- จากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน
- จากงานที่มอบหมายให้นักศึกษาทำในแต่ละบทเรียน
- จากการซักถาม โต้ตอบ
- จากการสังเกตความสนใจและความตั้งใจในการทำกิจกรรม
[2] 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
[1] 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
     3.1.3 มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม
- จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง โดยกำหนด
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เพื่อฝึกปฏิบัติให้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
- จากการประยุกต์ความรู้ในสถานการณ์ที่กำหนดอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ
- การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
 
[1] 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
[2] 4.1.2 มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
[2] 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
     4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
- จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
- จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปราย เพื่อหาข้อสรุป
- จากการสังเกตพฤติกรรมการทางานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
- จากการประเมินคุณภาพผลงานที่นาเสนอของกลุ่ม
[2] 5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม   
[2] 5.1.2  สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
[1] 5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรม
- มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากสื่ออิเลคทรอนิคส์และสื่อประสมต่างๆ
- ให้มีการนำข้อมูลจากการค้นคว้ามาอภิปรายแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่ม
- ให้นักศึกษาใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมประกอบการนำเสนอผลงานด้วยปากเปล่า
- จากข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นและรูปแบบการนาเสนอ ด้วยสื่อเทคโนโลยี
- จากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.3,5.1.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 3 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 7 50%
2 1.1.4,2.1.3,3.1.2,4.1.2,4.1.4, 5.1.3 การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ งานที่มอบหมาย การฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1.1,1.1.2,1.1.4 การส่งงานตามที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียนและการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ภาษาอังกฤษเทคนิค Technical English
ไม่มี
ตำราที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่นักศึกษาเรียน  เว็บไซต์ และสื่อการสอน e-learning ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้  1.1 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง  1.2 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษาประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
 2.1 สังเกตจากการสอนของผู้ร่วมทีมการสอน   2.2 ประเมินจากผลการสอบของผู้เรียน   2.3 ทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน  3.2   สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม  3.3   สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและรายงานโดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้าหรือไม่มี จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบาทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
การวางแผนการปรับปรุงการสอนและเนื้อหาวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน  5.2   มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ๆ และตามความน่าสนใจ  5.3  ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียน          เพื่อพัฒนากเรียนการสอน  5.4  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี