ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 6

Interior Architectural Design 6

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในของอาคารสาธารณะโรงแรม และสถานบริการสปา ฝึกปฏิบัติกระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล ศึกษาหลักการและกระบวนการออกแบบ แนวความคิด ตลอดจนจิตวิทยาการออกแบบ และงานระบบที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นแนวความคิด การวิเคราะห์โครงการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวความคิดในการออกแบบ สไตล์การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในของอาคารสาธารณะโรงแรม และสถานบริการสปา ที่ทันต่อกระแสปัจจุบัน และวัสดุ หรืองานระบบต่างๆ ที่ทันสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในของอาคารสาธารณะ โรงแรม และสถานบริการสปา โดยใช้กระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล หลักการและองค์ประกอบในการออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย การรับรู้ที่ว่าง จิตวิทยาการออกแบบ และงานระบบที่เกี่ยวข้องโดยบูรณาการหน้าที่ใช้สอยทั้งโครงการ ทำการวิเคราะห์โครงการ ศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาจริง
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มตามความต้องการ 4ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม
1.2.1  ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองวินัย คุณธรรม และจริยธรรม โดยเน้นเรื่องการเข้าชั้นเรียน
1.2.2 มอบหมายงานเดี่ยวและกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน
1.3.2 พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาชีพ
2.1.2 มีความรอบรู้และความเข้าใจในทฤษฎีศาสตร์ทางศิลปกรรม
2.2.1 บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์และการถามตอบ
2.2.2 การทำงานกลุ่มและการนำเสนอ
2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประสิทธิผลของการค้นคว้า การสรุปและนำเสนอรายงาน
3.1.1 สามารถวิเคราะห์ บูรณาการและสังเคราะห์ แนวคิดเพื่อออกแบบหรือสร้างสรรค์
3.1.2 สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนหรือเสนอแนวทางแก้ไข
3.1.3 มีกระบวนการทางความคิดและการทำงานอย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยาย มอบหมายงานออกแบบและนำเสนอตามความสนใจในหัวข้องานที่กำหนด
3.2.2 นักศึกษาลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอน
3.2.3 นักศึกษาสรุปผลการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะ
3.3.1 ประเมินจากผลงานออกแบบ การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ
3.3.2 การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน
3.3.3 รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ
4.1.1 มีความรับผิดชอบในการทำงานทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
4.2.3 อภิปรายงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
4.3.1 ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย
4.3.2 ประเมินการทำงานเป็นทีม และการอภิปรายจากงานกลุ่มที่มอบหมาย
5.1.1 มีทักษะทางการสื่อสาร นำเสนอผลงาน ทั้งการพูดและการเขียน และใช้สื่ออื่นๆ
5.2.1 บรรยาย อภิปราย สาธิตในห้องเรียน
5.2.2 นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองจากอินเตอร์เน็ต E-Learning ในการหาข้อมูลสนับสนุน
5.2.3 นำเสนอโดยใช้รูปแบบที่เหมาะสม
5.3.1 การมีส่วนร่วมในการนำเสนอ และวิธีการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
6.1.1 ปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องมือในการออกแบบ
6.1.2 ใช้อุปกรณ์เครื่องมือในการปฏิบัติงาน
6.2.1 บรรยาย สาธิตในห้องเรียน
6.2.2 มอบหมายงาน
6.3.1 ประเมินจากผลงานออกแบบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42021406 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 6
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม - พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน - พฤติกรรมการทํางานกลุ่มของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - ประสิทธิผลของการค้นคว้า การสรุปและนําเสนอ รายงาน 9,17 และตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทักษะทางปัญญา - ผลงานออกแบบ การนําเสนอแบบตามแนวคิด อย่างมีระบบ - การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน - รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกัน ของนักศึกษาในชั้นเรียน - ภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามจากการทํางาน กลุ่มที่มอบหมาย การทํางานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย 14,15,16 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การมีส่วนร่วมในการนําเสนอและวิธีการนําเสนอ ทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ตลอดภาคการศึกษา 20%
6 ทักษะพิสัย ปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องมือในการออกแบบและใช้อุปกรณ์เครื่องมือในการปฏิบัติงานได้ ตลอดภาคการศึกษา 20%
- Architects Data 
- Human Dimension
- Interior Intrend
การพานักศึกษาศึกษาดูงานอาคารสาธารณะ โรงแรม และสถานบริการสปาในสถานที่จริง
        - โรงแรมดาราเทวี
        - โรงแรมวิรันดา รีสอร์ทแอนด์สปา
        - ฯลฯ
เว็บไซต์การออกแบบอาคารสาธารณะ โรงแรม และสถานบริการสปา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ