การฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ
On The Job Training
จุดมุ่งหมายของวิชาประสบการณ์ภาคสนาม เป็นการฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้สิ่งต่อไปนี้
เพื่อการเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลทางการปฏิบัติ เพื่อเข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการนำความรู้ไปใช้ในการทำงาน เพื่อฝึกการวางแผนการปฏิบัติการทำงานเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ เพื่อฝึกการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีต่างๆ ในสถานประกอบการ เพื่อเข้าใจชีวิตการทำงานและวัฒนธรรมองค์กร เรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น และสามารถทำงานร่วมกันได้ เพื่อฝึกวิชาชีพเฉพาะทางให้มีความสามารถมากยิ่งขึ้น เช่น ระบบทำความเย็น เขียนแบบ เป็นต้น
7) เพื่อเป็นพื้นฐาน โอกาสเข้าทำงาน เมื่อจบการศึกษา
เพื่อการเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลทางการปฏิบัติ เพื่อเข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการนำความรู้ไปใช้ในการทำงาน เพื่อฝึกการวางแผนการปฏิบัติการทำงานเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ เพื่อฝึกการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีต่างๆ ในสถานประกอบการ เพื่อเข้าใจชีวิตการทำงานและวัฒนธรรมองค์กร เรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น และสามารถทำงานร่วมกันได้ เพื่อฝึกวิชาชีพเฉพาะทางให้มีความสามารถมากยิ่งขึ้น เช่น ระบบทำความเย็น เขียนแบบ เป็นต้น
7) เพื่อเป็นพื้นฐาน โอกาสเข้าทำงาน เมื่อจบการศึกษา
เพื่อให้เป็นวิชาที่นักศึกษาได้บูรณการความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมด ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานที่ประกอบการ จะเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ตรง ทำงานเป็นทีม เป็นการเตรียมความพร้อมและปรับตัวให้สามารถทำงานได้จริงเมื่อสำเร็จการศึกษา ภายใต้การดูแลของพนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการและอาจารย์ที่ปรึกษา อีกทั้งเกิดแนวความคิด ปรับปรุง พัฒนา ในสิ่งที่ได้เห็นจากการฝึกงาน
ปฏิบัติเกี่ยวกับงานในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมง เพื่อสร้างเสริมทักษะในการทำงานร่วมกับวิศวกรและบุคคลากรปฏิบัติการในด้านวิชาชีพ การควบคุมกระบวนการผลิต การตรวจสอบคุณภาพ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การซ่อมบำรุงรักษาและความปลอดภัย รวมถึงการจัดทำรายงานเชิงวิจัย และอื่นๆ เพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงก่อนสำเร็จการศึกษา
อาจารย์จะไปนิเทศนักศึกษาตามแผนอย่างน้อย 1 ครั้ง
คุณธรรม จริยธรรม
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กระบวนการหรือกิจกกรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้
ปฐมนิเทศนักศึกษา ถึงระเบียบ วินัย คุณธรรม ก่อนการฝึกงาน กำหนดตารางเวลาฝึกงาน บันทึกเวลาฝึกงาน
ปฐมนิเทศนักศึกษา ถึงระเบียบ วินัย คุณธรรม ก่อนการฝึกงาน กำหนดตารางเวลาฝึกงาน บันทึกเวลาฝึกงาน
1) ประเมินผลจากใบประเมินการฝึกงานนักศึกษาจากสถานประกอบการหลังจากเสร็จสิ้นการ ฝึกงาน
2) ประเมินโดยการนำเสนอหลังการฝึกงาน
2) ประเมินโดยการนำเสนอหลังการฝึกงาน
มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สถานประกอบการที่ฝึกงาน จัดพนักงานพี่เลี้ยงให้คำแนะนำการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆที่ได้รับ มอบหมาย อุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานตามหน้าที่
แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กำหนด หรือตามความเหมาะสมของสถานประกอบการ
แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กำหนด หรือตามความเหมาะสมของสถานประกอบการ
ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน โดยพนักงานพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศ
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การการส่งเสริมและมอบหมายโจทย์ปัญหา ของสถานประกอบการ
ให้นักศึกษาปฏิบัติจากสถานการจริง
ประชุมร่วมกันระหว่างพนักงานพี่เลี้ยง นักศึกษาฝึกงาน
ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานที่ต้องทำงานร่วมกันกับผู้อื่นได้
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานที่ต้องมีการสื่อสารโดยใช้ภาษาทั้งไทยและต่างประเทศ ทั้งการพูด เขียน ในการประสานการทำงาน
มอบหมายงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา หรือนำเสนอผลงาน
มอบหมายงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา หรือนำเสนอผลงาน
ประเมินจากเอกสารที่เขียน เช่น E-Mail ที่ใช้สื่อสารเพื่อการทำงาน
ประเมินจากการมีส่วนร่วม ในการสื่อสารกับบุคคลอื่น
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สถานประกอบการมอบหมายงานตามความเหมาะสม
สาธิตการปฏิบัติการทำงานโดยหัวหน้างาน
พิจารณาจากแบบบันทึกผลการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 |
1 | 30030104 | การฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ประเมินการบรรลุผลการเรียนรู้ของนักศึกษาทั้ง 5 ด้าน โดยให้ระดับคะแนน 1-5 ตามเกณฑ์การประเมินผลการศึกษาของมหาวิทยาลัย ดังนี้ 1 หมายถึง ต้องปรับปรุงอย่างมาก 2 หมายถึง ต้องปรับปรุง 3 หมายถึง พอใช้ 4 หมายถึง ดี 5 หมายถึง ดีมาก | 1) ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยงหรือสถานประกอบการ 2) และอาจารย์ที่ปรึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม อาจารย์ที่ปรึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม สรุปผลการประเมิน และรายงานผลต่อคณะในรูปของเกรด การฝึกงาน | สัปดาห์สุดท้ายการฝึกงาน | ความรับผิชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งระหว่างฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบฟอร์มการประเมินของหลักสูตร คว |
1. หนังสือที่เกี่ยวข้องในสาขาที่ฝึกงาน เช่น ฝึกงานที่โรงงานเครื่องปรับอากาศ ก็ใฃ้กฃหนังสือการปรับอากาศ เป็นต้น
2. คู้มือการฝึกงานนักศึกษา
2. คู้มือการฝึกงานนักศึกษา
ไม่มี
ไม่มี
1. กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยผู้เกี่ยวข้องต่อไปนี้
1.1 นักศึกษา จัดให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1.2 พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ พนักงานพี่เลี้ยงบันทึกงานที่มอบหมาย และผลการฝึกฯ ในแบบฟอร์ม
1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม อาจารย์ที่ปรึกษานิเทศ บันทึกการให้คำปรึกษา ผลการดำเนินงานของนักศึกษาหลังให้คำปรึกษา ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การนำคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้ในการแก้ปัญหาของนักศึกษา
1.1 นักศึกษา จัดให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1.2 พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ พนักงานพี่เลี้ยงบันทึกงานที่มอบหมาย และผลการฝึกฯ ในแบบฟอร์ม
1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม อาจารย์ที่ปรึกษานิเทศ บันทึกการให้คำปรึกษา ผลการดำเนินงานของนักศึกษาหลังให้คำปรึกษา ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การนำคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้ในการแก้ปัญหาของนักศึกษา
สอบถามนักศึกษาถึงสภาพทั่วไปของสถานที่ฝึกงาน เพื่อพิจารณาครั้งต่อไป
ให้นักศึกษาทุกกลุ่ม มานำเสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
1. ทำบัญชีรายชื่อสถานประกอบการ ให้ละเอียด เช่นที่ตั้ง ประเภทโรงงาน การผลิต
2. สอบถามนักศึกษาถึงสภาพทั่วไปโรงงาน
3. สิ่งที่ได้ปฏิบัติ
2. สอบถามนักศึกษาถึงสภาพทั่วไปโรงงาน
3. สิ่งที่ได้ปฏิบัติ