พันธุศาสตร์ทางการเกษตร
Genetics for Agriculture
1. รู้ความหมายและขอบข่ายของวิชาพันธุศาสตร์ทางการเกษตร
2. เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติ และ หน้าที่ของสารพันธุกรรม
3. เข้าใจหลักพันธุศาสตร์ ของเมนเดล
4. เข้าใจเรื่องยีนนอกเหนือจากกฎเมนเดล
5. เข้าใจเรื่องพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่
6. เข้าใจเรื่องพันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
7. เข้าใจหลักการกลายพันธุ์
8 .เข้าใจพันธุศาสตร์ประชากรและวิวัฒนาการ
9 .นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในระดับที่สูงขึ้น
10 .มีจิตพิสัยที่ดี ในการทำงาน
2. เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติ และ หน้าที่ของสารพันธุกรรม
3. เข้าใจหลักพันธุศาสตร์ ของเมนเดล
4. เข้าใจเรื่องยีนนอกเหนือจากกฎเมนเดล
5. เข้าใจเรื่องพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่
6. เข้าใจเรื่องพันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
7. เข้าใจหลักการกลายพันธุ์
8 .เข้าใจพันธุศาสตร์ประชากรและวิวัฒนาการ
9 .นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในระดับที่สูงขึ้น
10 .มีจิตพิสัยที่ดี ในการทำงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพันธุศาสตร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของแต่ละสาขาวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม การแสดงออกของยีนและการควบคุม พันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่นๆ การหาตำแหน่งยีนบนโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พันธุศาสตร์ประชากรและวิวัฒนาการ การประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์ทางการเกษตร
๑ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
2.การสังเกต
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.สอบปฏิบัติ
2.การสังเกต
3.สอบปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.สอบปฏิบัติ
2.การสังเกต
3.สอบปฏิบัติ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
2.การสังเกต
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
2.การสังเกต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ | ด้านทักษะทางปัญญา | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 |
1 | BSCAG006 | พันธุศาสตร์ทางการเกษตร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 5% |
2 | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา | การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 5% |
3 | ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ | การทดสอบย่อยทุกบทเรียน | ตามความเหมาะสม | 50% |
4 | ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ | การทดสอบกลางภาค | 8 | 20% |
5 | ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ | การทดสอบปลายภาค | 17 | 20% |
1.พรรณี ชิโนรักษ์ 2541. พันธุศาสตร์. บูรพาสาส์น (1991 ) จำกัด. กรุงเทพฯ.
2.วิสุทธิ์ ใบไม้. 2536. พันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่3. ภาควิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล. เจ้าพระยาการพิมพ์. กรุงเทพฯ.
3. Burns, G.W. 1980. The Science of Genetics: An Introduction to Heredity. 4th ed.Macmillan
Publishing Co, New York.
4 Farmworth, M. W.1978. Harper and Row Inc., New York.
5.Goodenough,U.1978. Genetics. 2nd.ed, Saunders college, Philadelphia.
2.วิสุทธิ์ ใบไม้. 2536. พันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่3. ภาควิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล. เจ้าพระยาการพิมพ์. กรุงเทพฯ.
3. Burns, G.W. 1980. The Science of Genetics: An Introduction to Heredity. 4th ed.Macmillan
Publishing Co, New York.
4 Farmworth, M. W.1978. Harper and Row Inc., New York.
5.Goodenough,U.1978. Genetics. 2nd.ed, Saunders college, Philadelphia.
สมาคมพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย.2549. ความรู้ทางพันธุศาสตร์. สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงโดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองดูผลการเรียนของผู้เรียนและทำรายงานสรุปพัฒนาการของผู้เรียน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในชั้นเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในชั้นเรียน
- ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
- ให้กรรมการทวนสอบสุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน
- เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชาตามเกณฑ์ที่กำหนด
- จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย)
- ให้กรรมการทวนสอบสุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน
- เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชาตามเกณฑ์ที่กำหนด
- จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย)
สาขาวิชามีการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ