จุลชีววิทยาทั่วไป

General Microbiology

1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา เทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยา สัณฐานและโครงสร้างเซลล์แบคทีเรีย การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต การควบคุมจุลินทรีย์ เมทาบอลิซึม หลักการจำแนกจุลินทรีย์และความหลากหลายของจุลินทรีย์ 
1.2 ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางจุลชีววิทยาในทางวิชาชีพ
1.3 มีทักษะการปฏิบัติเทคนิคทางจุลชีววิทยา
1.4 มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.5 สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับจุลชีววิทยา
เพื่อให้สอดคล้องตาม มคอ. 2 และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญทางจุลชีววิทยา สัณฐานวิทยาและโครงสร้างของจุลินทรีย์ การจำแนกจุลินทรีย์ การดำรงชีพและเมทาบอลิซึมของจุลินทรีย์  การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซีย  และแคลมายเดีย โรคและภูมิคุ้มกัน จุลชีววิทยาประยุกต์
1.5 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดกฎระเบียบการเข้าเรียน เช่น
- กำหนดเวลาเข้าเรียน
- การแต่งกาย
- การส่งงาน
- การรับผิดชอบคะแนนสอบของตนเอง
- การทำงานกลุ่มร่วมกัน
ความสม่ำเสมอในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ แล้วประมวลเป็นคะแนนจิตพิสัยร้อยละ 10
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
active learning
- การนำเสนอความรู้ที่ได้สืบค้น ในระหว่างการอภิปราย
- การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
active learning
- การนำเสนอความคิดเชิงประยุกต์ที่ได้สืบค้น 
- การสอบ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การทำงานกลุ่ม
- การเรียนรู้การรับฟังผู้อื่น มารยาทในการฟังผู้อื่น
- มารยาทการใช้พื้นที่สาธารณะร่วมกัน ในที่นี้ คือ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ รวมถึงอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ
- ความร่วมมือในการทำงานร่วมกัน
- การรับฟัง และการมีส่วนรวมในฟังผู้อื่น
- ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้พื้นที่สาธารณะ ห้องปฏิบัติการ ร่วมกัน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เทคนิคการสืบค้นความรู้จากอินเตอร์เน็ต เช่น การใช้คำสำคัญ การพิจารณาหน้าเว็ปที่เชื่อถือได้
- คิด วิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
- ผลที่ได้จากการสืบค้น ได้แก่ ความรู้ที่ได้จากการสืบค้น การอ้างอิงแหล่งสืบค้น
- กระบวนการคิดในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCCC113 จุลชีววิทยาทั่วไป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม ความสม่ำเสมอในการเข้าเรียน การส่งงาน การรับผิดชอบงาน การแต่งการเหมาะสม ทุกสัปดาห์ 2
2 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การทำงานเป็นทีม ทุกสัปดาห์ 4
3 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ ทุกสัปดาห์ 4
4 ความรู้ การนำเสนอ การอภิปราย สอบปฏิบัติ สอบทฤษฎี ทุกสัปดาห์ 60
5 ปัญญา การอภิปรายที่มีการแสดงถึงการคิดวิเคราะห์นำความรู้ทางจุลชีววิทยามาประยุกต์ใช้ ทุกสัปดาห์ 30
พรรณพร กุลมา. (2557). เอกสารประกอบการสอนจุลชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. น่าน: ศูนย์การพิมพ์และตำราเรียนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
พรรณพร  กุลมา. 2558. ปฏิบัติการจุลชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. น่าน: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปรีชา สุวรรณพินิจ. (2547). จุลชีววิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัทเท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด.
วีรานุช  หลาง. (2554). จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุมิตรา ภู่วโรดม. (2532). ปุ๋ยชีวภาพเพื่อการเกษตร. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
1.1  ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย 
1.2  ให้นักศึกษาประเมินการสอน โดยการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
 
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.2 ผลการประเมินจากการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและหนังสือบทปฏิบัติการให้สอดคล้องกับเนื้อหามากขึ้น พร้อมทั้งปรับกระบวนการเรียนรู้จากการบรรยายมาเป็นการตั้งโจทย์ปัญหาแล้วให้ค้นคว้า จากนั้นมาอภิปรายสรุป โดยอาศัยเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอนเป็นหลัก
          ปรับปรุงการสอนภาคปฏิบัติให้มีความชำนาญในการปฏิบัติมากขึ้น ด้วยการทำปัญหาพิเศษขนาดเล็ก โดยใช้กระบวนการเตรียมอุปกรณ์ขั้นพื้นฐานและมีการใช้เทคนิคพื้นฐานมากขึ้น
การทบทวนการออกข้อสอบตรงตามวัตถุประสงค์ในแต่ละบท
          การทบทวนตรวจสอบการให้คะแนนผลการเรียนนักศึกษา
ทำการทบทวนเนื้อหาในบทปฏิบัติการให้สอดคล้องกับ มคอ. 2 และเป็นไปตามกรอบสมรรถนะมาตรฐาน TQF
          นำผลการประเมินที่ได้จากการประเมินของนักศึกษามาใช้ปรับปรุงในภาคการศึกษาที่ 1/2562