ชลประทานและการระบายน้ำ

Irrigation and Draining

เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักชลศาสตร์ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ำ-พืช การคำนวณดินเพื่อการปรับพื้นที่ การสร้างอาคารบังคับน้ำ การวางระบบการให้น้ำแบบฉีดเป็นฝอย การไหลของน้ำใต้ดิน วิธีการระบายน้ำบนผิวดินและใต้ผิวดิน การออกแบบระบบการระบายน้ำและวิธีการควบคุมการไหล
เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักชลศาสตร์ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ำ-พืช การคำนวณดินเพื่อการปรับพื้นที่ การสร้างอาคารบังคับน้ำ การวางระบบการให้น้ำแบบฉีดเป็นฝอย การไหลของน้ำใต้ดิน วิธีการระบายน้ำบนผิวดินและใต้ผิวดิน การออกแบบระบบการระบายน้ำและวิธีการควบคุมการไหล
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักชลศาสตร์ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ำ-พืช การคำนวณดินเพื่อการปรับพื้นที่ การสร้างอาคารบังคับน้ำ การวางระบบการให้น้ำแบบฉีดเป็นฝอย การไหลของน้ำใต้ดิน วิธีการระบายน้ำบนผิวดินและใต้ผิวดิน การออกแบบระบบการระบายน้ำและวิธีการควบคุมการไหล
นักศึกษาสามารถเข้าพบหรือติดต่อขอคำปรึกษาทางด้านวิชาการได้ตามเวลาที่แจ้งในชั้นเรียน และอาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการคำปรึกษา) สามารถติดต่อได้ที่ 1.ดร. กริชเพ็ชร์ กลัดเนียม เบอร์ติดต่อ 08 17154554 E – mail : kritpechk@hotmail.com ,2.อ.กนก ภูคาม เบอร์ติดต่อ 0929951298 ,E-mail :kanokphoocam@gmail.com
เข้าใจและซาบซื้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้และผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคราพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจาการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กำหนดให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื้อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น และสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ และการประหยัดพลังงานในห้องเรียน โดยกำหนดบทบาทและมอบหมายหน้าที่ให้รับผิดชอบเป็นครั้ง ๆ ไป โดยบอกพฤติกรรมที่พึงประสงค์ และมีการให้ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรทางวิชาชีพของวิศวกร และผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา เช่น ความตั้งใจเรียน การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม การสั่งงาน ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมาย
มีความรู้และเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และ               การสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม  สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตน เพื่อนำไปประยุกต์แก้ไขปัญหา และสามารถปฏิบัติงานได้จริง
การบรรยายประกอบสื่อ ลงมือปฏิบัติจริง  การมอบหมายงานเป็นรายบุคคล และการมอบหมายงานเป็นกลุ่ม สรุปงานที่ได้ลงมือปฏิบัติจริงส่งท้ายชั่วโมง
ประเมินจากใบงานที่มอบหมาย โดยพิจารณาจากความครบถ้วนและถูกต้อง ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน ทักษะการทำงาน
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินในในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
มอบหมายงานให้สืบค้นข้อมูลที่ทันสมัยและนำเสนอ ทำการสาธิตในเบื้องต้น การกำหนดงานและให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน การกล่าวถึงทฤษฏี การยกตัวอย่างการทำงานจริงเพื่อเปรียบเทียบและให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมและถ่ายทอดให้กับเพื่อนนักศึกษา
ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษา และจากเขียนสรุปใบงานที่มอบหมาย
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณืเชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผุ้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสามกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบ  ด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
การมอบหมายงานโดยแบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยแต่ละกลุ่มจะจัดสรรหน้าที่รับผิดชอบในกลุ่มเอง โดยที่ผู้สอนจะควบคุมดูและ และให้คำแนะนำ รวมไปถึงการให้นักศึกษานำเสนองานและส่วนงานตามรายละเอียดที่กำหนด
ประเมินจากพฤติกรรมและผลงานของแต่ละกลุ่ม สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูล การวัด การวิเคราะห์/จัดการกับตัวเลข และการสรุป               เพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินผลสัมฤทธิ์จากงานที่ได้รับมอบหมาย
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สาธิตและลงมือปฏิบัติจริง การมอบหมายงานเป็นรายบุคคล และการมอบหมายงานเป็นกลุ่ม สรุปงานที่ได้ลงมือปฏิบัติจริงที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินผลสัมฤทธิ์จากงานที่ได้รับมอบหมายและสังเกตุพฤติกรรมที่แสดงออกในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG207 ชลประทานและการระบายน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1.1. 2.1.1.2 2.1.1.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 30 % 50%
2 2.1.1.2 2.1.1.3 2.1.1.4 2.1.1.5 ค้นคว้า การนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10% 10% 10%
3 2.1.1.1. 2.1.1.4 ประเมินจาการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของนักศึกษา เช่น การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย การทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 10%
Irrigation and Water Resources Engineering. New Age International Publishers.G.L. ASAWA  April, 2005
 
 
 
www.asabe.org (American Society of Agricultural and Biological Engineers),
http://www.tsae.asia/ (สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย),
http://www.rdi.ku.ac.th/division/thai/machinery.html (ศูนย์เครื่องจักรกลการเกษตรแห่งชาติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์),
http://as.doa.go.th/aeri/ (สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร)
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
 


การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้


การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำ เป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ