การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

Cross Cultural Communication

ศึกษามโนทัศน์ของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมและข้ามวัฒนธรรม ทฤษฎีของการสื่อสาร และการสื่อสารแบบวัจนะและอวัจนะ กลวิธีสื่อสารในต่างประเทศต่างวัฒนธรรม มิติที่แตกต่างด้านวัฒนธรรมและความคิดระหว่างโลกตะวันออกกับตะวันตก
2.1 เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต การท่องเที่ยวและการโรงแรม (หลักสูตรปรับปรุงใหม่ 2555)
2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
2.3 เพื่อให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน
ศึกษามโนทัศน์ของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมและข้ามวัฒนธรรม ทฤษฎีของการสื่อสาร และการสื่อสารแบบวัจนะและอวัจนะ กลวิธีสื่อสารในต่างประเทศต่างวัฒนธรรม มิติที่แตกต่างด้านวัฒนธรรมและความคิดระหว่างโลกตะวันออกกับตะวันตก
3.1 อาจารย์ผู้สอนหรืออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซด์และเครือข่ายสังคมออนไลน์
3.2 อาจารย์ผู้สอนหรืออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาตามเวลาที่ประกาศหรือตามเวลาที่นัดเป็นรายบุคคล/กลุ่มตามความต้องการ 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้   ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ     2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ     มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม     4. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำและเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น     5. มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน   ü 2. สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ   ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน     4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ     5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่างๆ   ü 6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย   ü 2) สังเกตการณ์แสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน   ü 3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน     4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก     5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่เรียนเข้าฝึกงาน  
การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้   ด้านความรู้ 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก   2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง     3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. การบรรยายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ   ü 2. มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้า และทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม     3. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ   ü 4. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง   ü 5. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน   ü 6. ฝึกปฏิบัติร่วมกันสถานประกอบการ   ü 7. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (Professional) ในวิชานั้นๆ  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน   ü 2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค   ü 3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน   ü 4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า  
การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้   ทักษะทางปัญญา
  1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก     2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม     3. มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจและจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล  
การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้   ทักษะทางปัญญา
  1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก     2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม     3. มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจและจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล  
การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้   ทักษะทางปัญญา
  1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก     2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม     3. มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจและจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล  
การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้   ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้     2. ความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล   3. ความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ   ü 2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบโดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม     3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน   ü ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)     ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน   ü สังเกตพฤติกรรมในการเรียน     ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน   ü ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)     ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน   ü สังเกตพฤติกรรมในการเรียน     ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ   ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและการบริการหรือสายการบิน     3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน     4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่างๆ     5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ   ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและการบริการหรือสายการบิน     3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน     4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่างๆ     5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ   ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและการบริการหรือสายการบิน     3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน     4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่างๆ     5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ   ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและการบริการหรือสายการบิน     3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน     4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่างๆ     5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง  
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ   ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและการบริการหรือสายการบิน     3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน     4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่างๆ     5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOACC102 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1.1, 3.2.2,3.3.2 - การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน - ความประพฤติของนักศึกษาระหว่างเข้าชั้นเรียน 1-16 10 %
2 3.1.1, 3.2.2, 3.3.2,3.4.1, 3.5.1,3.6.1 - งานที่ได้รับมอบหมาย - อภิปรายกรณีศึกษา 1-16 40 %
3 3.1.1,3.2.2, 3.3.2,3.4.1, 3.5.1,3.6.1 การสอบอัตนัย - กลางภาค - ปลายภาค 9 และ 16 25%/25%
เมตตา วิวัฒนานุกูล(กฤตวิทย์). 2559. การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หนังสือและนิตยสารที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนา เป็นต้น
วารสารด้านการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่นักศึกษาสามารถศึกษาค้นคว้าหาอ่านได้ด้วยตนเอง
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้

ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1
2.2 สุ่มสังเกตการสอนและการประเมินการจัดการเรียนการสอน (โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเอง ในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน

ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้
3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละครั้ง
3.2 ประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา

ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้

การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร

การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม/ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอนและผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและประเมินผล ในปีการศึกษาต่อไป