การบัญชีชั้นต้น

Introduction to Accounting

1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมมของการบัญชีตลอดจนจรรยาบรรณาของวิชาชีพบัญชี 
2. เพื่่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงินและงบการเงิน 
3. เพื่อให้นักศึกษารู้หลักการบันทึกบัญชีและสามารถบัญชีตามหลักบัญชีคู่ได้
4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชีและจัดทำงบการเงินกิจการให้บริการ ซื้อขายสินค้าได้
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบันทึกบัญชีเกี่ยวกับส่วนนของเจ้าของ สมุดรายวันเฉพาะและการบัญชีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม 
6. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ กิจการอุตสาหกรรมได้ 
7. เพื่อให้นักศึกษาเห็นคุณค่าและความจำเป็นของการจัดทำบัญชี
8. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการบัญชี และการจัดทำงบการเงินไปใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาการบัญชีอื่นๆ และวิชาที่เกี่ยวข้องต่อไป
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิชาชีพบัญชี
2. เพื่อให้นักศึกษารู้หลัการและวิธีการบันทึกบัญชี และการจัดทำงบการเงินตามวงจรการบัญชี ก้จการให้บริการ กิจการซื้อข่ายสินค้า กิจการอุตสาหกรรม ส่วนของเจ้าของ ตลอดจนการบัญชีอย่างง่ายเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
ศึกษาและปฏิบติความหมายและวัตถุประสงค์วิวัฒนาการของการบัญชี และประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี จรรยายบรรณวิชาชีพบัะญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางเงิน วงจรการบัญชี การวิเคราะห์รายการค้าและวิธีการบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปและสมุดรายวันเฉพาะ การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การปรับปรุงและปิดบัญชี ณ วันสิ้นงวด การจัดทำงบทดลอง กระดาษทำาการ ตลอดจนการจัดทำรายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการและกิจการซื้อขายสินค้า การบัญชีส่วนของเจ้า การบัญชีขั้นพื้นฐานกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม การบัญชีเกี่ยวกับกิจการอุตรสาหกรรม
โดยประมาณ 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
1. กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตามเวลาที่กำหนด
2.บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอนเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม 
1. ตืดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษาให้คะแนน 10%
2. สังเกตพฤติกรรมในการเข้าชั้นเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมาย
3. ประเมินจาการทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากการส่งงานหรือแบบฝึกหัดทันตามเวลาที่กำหนด
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
1. การบรรยาย ถาม- ตอบในชั้นเรียน 
2. ฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีและทำงบการเงินในชั้นเรียน 
3. ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติจากแบบฝึกหัด
1. สอบกลางภาค
2. สอบปลายภาค 
3. งานทีมอบหมาย 
4. การตอบคำถามในสชั้นเรียน  
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3  สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
1. บรรยาย ยกตัวอย่าง ถาม - ตอบในชั้นเรียน 
2. ฝึกการคิด วิเคราะห์รายการค้า จากโจทย์แบบฝึกหัด
3. ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติบันทึกรายการค้าและจัดทำงบการเงินในชั้นเรียน 
1.สอบกลางภาคเรียน 
2. สอบปลายภาคเรียน 
3. การตอบปัญหาในชั้นเรียน 
4. ทดสอบย่อย
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน 
1. ประเมินผลจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
2. ประเมินผลจากการทดสอบย่อย
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ  การนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ 
1. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียนโดยไม่ต้องใช้เครื่องคำนวณ
1. สามารถคำนวณตัวเลขได้อย่างรวดเร็จถูกต้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BACAC110 การบัญชีชั้นต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การสอบปฏิบัติย่อย 3,8,10,17 30%,30%,20%
2 1,2,3 ใบงานที่ 1 วงจรบัญชี การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป บัญชีแยกประเภท งบทดลอง - ภาษาอังกฤษ ใบงานที่ 2 สมุดรายวันเฉพาะ 4,11 10%
3 1,2,3,4,5 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนม การตอบคำถามในห้องเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
วัฒนา ศิวะเกื้อและคณะ การบัญชีขั้นต้น ฉบับปรับปรุงแก้ไข พิมพ์ครั้งที่ 8 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2559.
Wid Kwok Venkatest Shaw Chippelta: Fundamental Accounting Principle 2nd edition (IFRS) Mc Graw Hill 2016.
Weygant Kieso Kimmel: Accounting Principle 11 th edition, Wiley International Edition, John Wiley & Son.
www.thailandaccount.com
ข้อมูลการเคลื่อนไหวทางวิชาชีพที่ควรติดตามและข้อมูลสถานการณ์เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน ซึ่งได้จากเวปไชต์ต่อไปนี้
www.fap.or.th
www.rd.go.th
ใช้การทดสอบย่อย
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยเมื่อสิ้นภาคการศึกษา ระบบออนไลน์
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนและหลักการบัญชีเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ให้กรรมการด้านวิชาการเป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบและการตัดเกรด
รองคณะบดีฝ่ายวิชาการเป็นผู้นำเสนอข้อสอบและการตัดเกรด ก่อนที่จะมีการสอบและการ  ประกาศผล นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2 ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน วิธีการประเมิน และเนื้อหารายวิชา