พืชเศรษฐกิจของอาเซียน

Economic Crops of ASEAN

1) รู้ถึงความสำคัญ ชนิดและแหล่งปลูกของพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียน
2) รู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต และการผลิตของพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจของอาเซียน
3) เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิต ศัตรูในระบบนิเวศ และการเก็บเกี่ยวพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจของอาเซียน
4) รู้ถึงวิธีการแปรรูป และการตลาดของพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจของอาเซียน
มีการปรับปรุงโดยเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาและสื่อการสอนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับการนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ รวมทั้งการศึกษาเพิ่มเติมในระดับสูงต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในภูมิภาคของประชาคมอาเซียน ชนิดพืช ลักษณะประจำพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาผลผลิต ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด การขยายพันธุ์และการตลาด
- จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาให้นักศึกษาทราบ
 
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม
- สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลา
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- มีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการสำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
- มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบโดยข้อเขียนในการการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- การประเมินผลจากรายงานและงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- มีทักษะทางการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
- แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการเขียนและการอธิบายในหัวข้อรายงานเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจที่ได้รับมอบหมาย
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่นักศึกษาเลือก และค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเกษตรกรผู้ผลิตพืชเศรษฐกิจ
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
- ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่นักศึกษาเลือก และค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเกษตรกรผู้ผลิตพืชเศรษฐกิจ
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
- ส่งเสริมให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 ครั้ง
- กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ PowerPoint
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
- ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-2 3-4 5-6 7-8 1-8 1-8 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค การส่งงานมอบหมาย การทำงานกลุ่มและผลงานที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียน การสนใจในห้องเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 4 9 12 16 15 % 15 % 15 % 15 % 35 % 5 %
กรมวิชาการเกษตร. 2548. เอกสารวิชาการข้าว. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 151 น. คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา. 2542. พืชเศรษฐกิจ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 471 หน้า ฐิติมา วีระศิลป. 2550. คู่มือการทำไร่อ้อย. สถาบันส่งเสริมพืชไร่และพืชพลังงานไทย, กรุงเทพฯ. 296 น. ฐิติมา วีระศิลป์. 2550. มันสำปะหลัง. สถาบันส่งเสริมพืชไร่และพืชพลังงานไทย, กรุงเทพฯ. 136 น. สถาบันวิจัยพืชไร่. 2547. มันสำปะหลัง. สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 124 น.
ไม่มี
เว็ปไซด์องค์กร เช่น FAO IRRI USDA กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ฯลฯ และเว็ปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการสอน
ใช้แบบประเมินผู้สอน แบบประเมินรายวิชา และความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากนักศึกษา
ผลการสอบ, การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลการประเมินในข้อ 1 และ 2 มาประมวลเพื่อปรับปรุงการสอนและการเรียนรู้
- การทวนสอบหัวข้อการสอนและผลการเรียนรู้จากคะแนนและการสุ่มตรวจงานนักศึกษาโดยคณะกรรมการตรวจสอบของสาขาวิชา
- คณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มตรวจรายงานและผลงาน รวมทั้งร่วมรับฟังการนำเสนองานของนักศึกษาเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ
- ทบทวนและปรับปรุงรายวิชาทุก 3 หรือ 5 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
- การพัฒนาคุณภาพและประสบการณ์ของผู้สอน