การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ

Object Oriented Analysis and Design

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเชิงวัตถุ กระบวนการระบบเชิงวัตถุ การวิเคราะห์ระบบ 
เชิงวัตถุ ยูสเคสไดอะแกรม การออกแบบเชิงวัตถุ คลาสไดอะแกรม แบบจำลองของการวิเคราะห์ 
สเตทและแอคทิวิตีไดอะแกรม แพกเกจไดอะแกรม ไดอะแกรมสำหรับชั้นตอนการพัฒนา 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์และออกแบบระบบไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
 
ศึกษาถึงแนวคิดเชิงวัตถุ กระบวนการระบบเชิงวัตถุ การวิเคราะห์ระบบเชิงวัตถุ ยูสเคส ไดอะแกรม การออกแบบเชิงวัตถุ คลาสไดอะแกรม แบบจ าลองของการวิเคราะห์ สเตทและแอคทิวิตีไดอะแกรม แพกเกจไดอะแกรม ไดอะแกรมสำหรับขั้นตอนการพัฒนา 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม 
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3   โทร.  1151 
3.2  e-mail; morakot@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน 
 
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
   1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
[Symbol]1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต 
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต 
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต 
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต 
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 4.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.3, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 2.1, 3.2 การทดสอบย่อย / ครั้ง 5,10 20%
4 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 30%
5 1.3, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน/แบบฝึกหัด 14 10%
6 2.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 30 %
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1  การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน   
2. การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน 
3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาแบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโม
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน 


ผลการสอบ 

การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน 

การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา 

ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ