การจัดการความรู้

Knowledge Management

1.1 รู้ทฤษฎี กรอบแนวคิด และระบบเกี่ยวกับการจัดการความรู้ 1.2 เข้าใจแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การแห่งการเรียนรู้และการจัดการทุนทางปัญญา 1.3 รู้วิธีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้ 1.4 เข้าใจแนวคิดทฤษฎีวงจรการเรียนรู้ และการจัดการการเปลี่ยนแปลง
2.1 เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 2.2 เพื่อปรับปรุงรายวิชาให้ได้เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้และการนาความรู้ไปใช้งาน 2.4 เพื่อสร้างจิตสานึกให้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการความรู้ ตลอดจนการมีคุณธรรม และจริยธรรมที่ดี
ศึกษาทฤษฏีและกรอบแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การสร้างสรรค์ความรู้ ทุนทางปัญญา ทฤษฎีวงจรการเรียนรู้ การจัดการการเปลี่ยนแปลง ระบบการจัดการความรู้ และการประยุกต์กรณีความสาเร็จของการจัดการความรู้
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยระบุ วัน/เวลา ไว้ในประมวลการสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบใน ชั่วโมง แรกของการสอน
1.1.1. มีวินัยตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2. มีคุณธรรมของความเป็นผู้นาและผู้ตาม 1.1.3 เคารพสิทธิ์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมถึงเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายเนื้อหา 1.2.2 อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน 1.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาทางานกลุ่มและนาเสนอในชั้นเรียน
1.3.1 ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน และพฤติกรรมในชั้นเรียน 1.3.2 ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของงาน 1.3.3 ประเมินจากการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้
2.2.1 บรรยาย 2.2.2 กาหนดประเด็นปัญหา 2.2.3 อภิปรายกลุ่ม
2.3.1 ซักถาม 2.3.2 แบบทดสอบ 2.3.3 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1 มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2.1 ให้วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.3.1 พิจารณาจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและสังคม 4.1.3 มีความรับผิดชอบในการทางานที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.2.1 กาหนดประเด็นปัญหา 4.2.2 อภิปรายผลระดมความคิด
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 4.3.2 พิจารณาจากผลงาน
5.1.1 สามารถสืบค้นข้อมูลและค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้ 5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.2.1 บรรยายและอภิปรายกลุ่มโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม 5.2.2 นาเสนอผลงานในชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสื่อที่เหมาะสม 5.2.3 มอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม
5.3.1 ประเมินผลจากการนาเสนอผลงานในชั้นเรียน การอภิปรายกลุ่ม 5.3.2 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมและการแสดงออกในการอภิปรายกลุ่มการใช้ เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 12011307 การจัดการความรู้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.6 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4, 4.6 1-8 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 16%
2 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 การอภิปรายด้วยวาจาในเรื่อง การจัดการความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ 2-8 14%
3 2.1, 2.2, 2.5, 2.7 3.1, 3.4 สอบกลางภาค 9 20%
4 1.2, 1.6 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4, 4.6 แบบฝึกหัดจากหน่วยเรียน 10-17 18%
5 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 การอภิปรายการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในองค์กรเสมือนจริง นวัตกรรมในปัจจุบัน 12-17 12%
6 2.1, 2.2, 2.5, 2.7 3.1, 3.4 สอบปลายภาค 17 20%
ผศ.พรรณี สวนเพลง เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมสำหรับการจัดการความรู้.
บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2547.
วศิน เพิ่มทรัพย์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ,
บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2550.
วิจารณ์ พานิช การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2547.
โอภาส เอี่ยมศิริวงษ์ วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,
2550.
-
www.wikipedia.com
www.dusit.ac.th
www.nectec.or.th
www.ku.ac.th
www.ecommerce.co.th
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-ผลการสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
-การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบในผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4