ออกแบบนิเทศศิลป์ 2

Visual Communiction Design 2

1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3. มีวินัย  ตรงต่อเวลา ปฎิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับขององค์กรและสังคม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2.ด้านความรู้
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.ด้านทักษะทางปัญญา
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น  ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการออกแบบและผลิตงานสิ่งพิมพ์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีกับการออกแบบและผลิตงานสิ่งพิมพ์  ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ  การออกแบบรูปเล่มสิ่งพิมพ์  รูปแบบการจัดหน้า ขั้นตอนการผลิตรูปเล่มสิ่งพิมพ์  วัสดุในการพิมพ์  และระบบพิมพ์
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานของนักศึกษาผ่านทาง Social Network
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3. มีวินัย  ตรงต่อเวลา ปฎิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับขององค์กรและสังคม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
ฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น  ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 3. มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฎิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับขององค์กรและสังคม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43011202 ออกแบบนิเทศศิลป์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑(๑) ๔(๑) - ๔(๓) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง ๑-๑๕
2 ๑(๑),๔(๓) การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๒-๑๕
3 ๑(๒), ๑(๓) ๒(๑) - ๒(๔) ๓(๑) - ๓(๓) ๕(๑),๕(๒) ผลงานรายบุคคล (แบบฝึกหัด) ๒-๑๕ ๔๐
4 ๑(๒), ๑(๓) ๒(๑) - ๒(๔) ๓(๑) - ๓(๓) ๕(๑),๕(๒) ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด โครงงาน) ๒-๑๕ ๑๐
5 ๕(๑),๕(๒) การนำเสนอ ๒-๑๕ ๑๐
6 ๑(๒), ๑(๓) ๒(๑) - ๒(๔) ๓(๑), ๓(๒) ๕(๑),๕(๒) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) ๗,๑๖ ๓๐
   เกียรติประถม  สินรุ่งเรืองกุล.  Tips  Adobe  Indesign  จัดทำเอกสารสิ่งพิมพ์ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2553
   โกสุม  สายใจ. การออกแบบสิ่งพิมพ์  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์, 2547
   ปิยะบุตร  สุทธิดารา.  เรียนรู้การทำงานกราฟิกดีไซน์สิ่งพิมพ์แบบมืออาชีพ  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไอดีซี, 2553
   วราพงศ์  วรชาติอุดมพงศ์. การออกแบบกราฟิก  กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, 2545   
   อารยะ  ศรีกัลยาณบุตร.  การออกแบบสิ่งพิมพ์  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2550
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบหนังสือ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการพิมพ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับระบบพิมพ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งพิมพ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการผลิตสิ่งพิมพ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับกระดาษพิมพ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบสิ่งพิมพ์
1.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2     ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑
2.2     สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3     ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1     ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2     ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้

การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล