กระบวนการจัดการงานออกแบบสื่อสาร

Communication Design Managing Process

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบวนการจัดการงานออกแบบสื่อสาร รวมทั้งมีทักษะในการวางแผนการออกแบบและการผลิตสื่อ ขั้นตอนและกระบวนการในการออกแบบสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาอื่นๆ อย่างเหมาะสม โดยตระหนักถึงคุณค่า คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
ปรับการส่งงานให้ตรงเวลาและตรวจงานให้คะแนนทันทีโดยประเมินแล้วนำเสนอผ่านสื่อออนไลน์ ให้นักศึกษาแสดงออกด้านความคิดเห็นและการนำเสนอให้มากขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การบวนการจัดการงานออกแบบสื่อสาร การวางแผนการออกแบบและการผลิต ขั้นตอนและกระบวนการในการออกแบบสื่อสาร
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
- อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานของนักศึกษาผ่านทาง Social Network
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3. มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฎิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับขององค์กรและสังคม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
 
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
 
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
ฝึกปฏิบัติ
 
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
 
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกปฏิบัติ
 
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
 
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกปฏิบัติ
 
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
 
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)นำเสนอข้อมูล
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
 
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร 1.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฎิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43010210 กระบวนการจัดการงานออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑(๑) ๔(๑) - ๔(๓) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง ๑-๑๕
2 ๑(๑),๔(๓) การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๒-๑๕
3 ๑(๒), ๑(๓) ๒(๑) - ๒(๔) ๓(๑) - ๓(๓) ๕(๑),๕(๒) ผลงานรายบุคคล (แบบฝึกหัด) ๒-๑๕ ๔๐
4 ๑(๒), ๑(๓) ๒(๑) - ๒(๔) ๓(๑) - ๓(๓) ๕(๑),๕(๒) ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด โครงงาน) ๒-๑๕ ๑๐
5 ๕(๑),๕(๒) การนำเสนอ ๒-๑๕ ๑๐
6 ๑(๒), ๑(๓) ๒(๑) - ๒(๔) ๓(๑), ๓(๒) ๕(๑),๕(๒) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) ๙,๑๗ ๓๐
เกียรติประถม สินรุ่งเรืองกุล. Tips Adobe Indesign จัดทำเอกสารสิ่งพิมพ์ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
โกสุม สายใจ. การออกแบบสิ่งพิมพ์ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์, 2547
ปิยะบุตร สุทธิดารา. เรียนรู้การทำงานกราฟิกดีไซน์สิ่งพิมพ์แบบมืออาชีพ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไอดีซี, 2553
วราพงศ์ วรชาติอุดมพงศ์. การออกแบบกราฟิก กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, 2545
อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. การออกแบบสิ่งพิมพ์ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
 
การศึกษา การดูงานและประสบการณ์ตรงจากนักออกแบบและสถานประกอบการจริง เป็นสิ่งสำคัญต่อการศึกษา ทั้งยังสามารถจุดประกายความคิดสร้างสรรค์และนำความรู้หรือประสบการณ์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆต่อไป
 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับงานออกแบบสื่อประเภทต่างๆ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับข้อดีข้อเสียของสื่อประเภทต่างๆ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับผลิตสื่อโฆษณา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบแอนิเมชั่น
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการจัดการสื่อ
 
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 การสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน
การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น แบบแสดงความคิดเห็น E-mail
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ โดยการให้นักศึกษาประเมินตัวเอง
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาดังนี้
3.1 ดูผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษา
3.2 ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ตามข้อเสนอ
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และปลายภาคให้นักศึกษาประเมินตนเอง
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ