การจัดการดินและปุ๋ย

Soil Management and Fertilizer

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจถึงหลักในการจัดการดินทางด้าน สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน รวมถึงการจัดการดินที่มีปัญหาให้เหมาะสมกับการปลูกพืช
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจถึงหลักปฏิบัติในการจัดการธาตุอาหารแก่พืชเศรษฐกิจที่สำคัญบางชนิด
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการสำรวจดิน การควบคุม และป้องกันกษัยการด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับดิน
1.4 นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม สามารถสืบค้นและใช้สื่อสารสนเทศได้
เพื่อเพิ่มทักษะการค้นคว้า การอ่าน การวิเคราะห์ และสรุปงานวิจัยใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการดินและปุ๋ย เพื่อจัดทำรายงานหรือนำเสนองานในชั้นเรียน และเพิ่มทักษะการลงมือปฏิบัติการปรับปรุงดินโดยการปลูกพืชในกระถาง การจดบันทึก การสรุปผลการปฏิบัติงาน
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญ การเกิด สมบัติทางฟิสิกส์และเคมีบางประการของดิน ดินที่มีปัญหาในประเทศไทยและแนวทางปรับปรุงแก้ไข อินทรียวัตถุ ธาตุอาหารพืช ปุ๋ย การจำแนก กษัยการของดิน ฯลฯ แต่ละขั้นตอนนั้นๆ เน้นหนักถึงวิธีการปฏิบัติการด้านต่างๆ กับดิน เช่น การไถพรวน การจัดการน้ำ การแก้ไขความเป็นกรด การปรับปรุง และคงสภาพอินทรียวัตถุไว้ในดิน การใส่ปุ๋ย ข้อมูลจากการรายงานสำรวจดิน การควบคุมและป้องกันกษัยการด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับดิน
3.1 จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและข้อแนะนำ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ (วันพุธ เวลา 15.00-17.00 น. ห้องสำนักงานพืชศาสตร์ หมายเลขโทรศัพท์ภายใน 1125)
3.2 e-mail; Pramoth2550@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.3 Facebook การจัดการดินและปุ๋ย 2561
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลา

ความซื่อสัตย์ในการสอบและการทำงานมอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่มการนำเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหาและโครงงาน Problem based learning
การทดสอบย่อย การทดสอบกลางภาค-ปลายภาค ประเมินจากรายงาน ประเมินจากการนำเสนองาน

ประเมินจากผลการปฏิบัติงานภาคปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
มอบหมายให้นักศึกษาทดลองปรับปรุงดินโดยการทดลองเปรียบเทียบในกระถาง จดบันทึกข้อมูล รายงานผล
.ประเมินจากผลการปฏิบัติงานจริง
2. ประเมินจากการรายงานผลหน้าชั้นเรียน และรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม
สังเกตพฤติกรรมในขณะปฏิบัติงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม

การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21011353 การจัดการดินและปุ๋ย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงานตรงเวลา 1-17 5%
2 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การส่งรายงานตรงเวลา รับผิดชอบงานที่มอบหมาย 7,8,11,13,17 25%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6และ 10 15%
4 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การสอบกลางภาค 8 10%
5 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การสอบปลายภาค 18 30%
6 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำงานกลุ่ม/การนำเสนองาน/การรายงาน 14 15%
จำเป็น อ่อนทอง. 2549. ดินมีปัญหาและการจัดการ. สงขลา : ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Blanco-Canqui, Humberto, Lal, Rattan. 2008. Principles of Soil Conservation and Management. Springer.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินและพืชเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินลูกรัง. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2543. การชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาที่ดิน.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกข้าวขาวมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกข้าวโพดฝักอ่อนในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกสับปะรดในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกหน่อไม้ฝรั่งในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2540. การจัดการดินเค็ม. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2540. การจัดการดินเปรี้ยวจัด. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กลุ่มวิจัยและพัฒนาการอนุรักษ์ดินและน้ำพื้นที่พืชไร่. การอนุรักษ์ดินและน้ำ. แหล่งที่มา: http://
www.ldd.go.th/flddwebsite/web_ord/Old%20Data/Web_ord/Technical/pdf/P_Technical06014.pdf
กลุ่มอนุรักษ์ดินและน้ำ. 2544. นิยามและและทางเลือกมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ. กรุงเทพฯ:
กรมพัฒนาที่ดิน.
คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
คณาจารย์ ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สงบ สำองค์ศรี. 2544. การจัดการดินบนพื้นที่ลาดชัน (กลุ่มชุดดินที่ 62) เพื่อปลูกไม้ยืนต้นใน
ระบบวนเกษตรเชิงอนุรักษ์ดินและน้ำ. ราชบุรี : สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนา
ที่ดิน.
สุรสิทธิ์ ซาวคำเขต. 2551. วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำโดยใช้แรงคน : กรณีศูนย์พัฒนาโครงการ
หลวงหนองเขียว ต. เมืองนะ อ.เชียงใหม่. เชียงใหม่ : สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนา
ที่ดิน.
เอิบ เขียวรื่นรมย์. 2542. การสำรวจดิน: มโนทัศน์ หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Harpstead, M.I., Sauer, Th. J. and Benneth. 2001. Soil Science Simplified. Fourth edition. Ames: Iowa State University Press.W.F.
Lal, R. and Bobby, A.S. 1995. Soil management and greenhouse effect. Iowa: CRC Press.
Storey, P.J. 2002. Conservation and Improvement of Sloping Land: A Manual of Soil and Water Conservation and Soil Improvement on Sloping Lands, Volume 1: Practical Understanding. NH: CRC Press.
- www.ldd.go.th
- www.science-direct.com
- www.springerlink.com
ไม่มี
หลักสูตรกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
ปรับปรุงเน้ือหาที่สอนโดยสอดแทรกงานวิจัยใหม่ๆๆที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงสื่อการสอน ปรับปรุงวิธีการ/เทคนิคการสอน
ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
ทบทวนกระบวนการเรียนการสอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเพ่ือนำไปปรับเปลี่ยนรูปแบบและเทคนิคการสอนสำหรับภาคการศึกษาถัดไป