ออกแบบผลิตภัณฑ์ 2

Product Design 2

รู้วิธีการนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบ เข้าใจการพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย​​​​​​​ เข้าใจวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์อย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการฝึกปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EcoDesign of Products) เห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ มาทำการออกแบบผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EcoDesign of Products)
ให้นักศึกษารู้ลักษณะแบบอย่างและแรงบันดาลใจในการออกแบบ ให้นักศึกษาเข้าใจการพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย ให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการเลือกใช้วัสดุและกรรมวิธีการผลิต ให้นักศึกษามีทักษะในการออกแบบกลไกอย่างง่ายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ มาทำการออกแบบผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
ศึกษาและปฏิบัติเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย วัสดุและกรรมวิธีการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีกลไกอย่างง่าย ผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภค หรือผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมตามกระบวนการ
ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนวันละ 2 ชั่วโมงรวม 14 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทาง nang.tn@gmail.com    และทางเฟสบุ๊ค Nang Orkbabb Jedyord  ซึ่งได้ประกาศให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เข้าเรียนในสัปดาห์แรก
ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่น ๆ และมีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น
2. ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน   โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้
3. ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
 
-     บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
-     มอบหมายให้ปฏิบัติงาน
-     ตรวจงานด้วยการให้ น.ศ. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
-     สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
-     สอบทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค
 

 
-    การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้
-    การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
1.  ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษาจะต้องมีความรู้ในการนำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง
2.  วิธีการสอน สอนโดยการบรรยายประกอบสื่อการสอนประกอบตัวอย่าง และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียน
     เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
3.  วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%  และจากการสอบ 30%
     จิตพิสัย 10%
-     บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
-     มอบหมายให้ปฏิบัติงาน
-     ตรวจงานด้วยการให้ น.ศ. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
-     สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
-     สอบทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค
-    การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้
-    การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการ
ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%  และจากการสอบ 30% จิตพิสัย 10%
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา  ให้นำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้2. 
สอนโดยการบรรยายประกอบตัวอย่าง ด้วยสื่อการสอนแล้วให้นักศึกษาปฏิบัติการ หาข้อมูลและฝึกปฏิบัติ
ออกแบบพื้นฐาน และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติ  ส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
จากงานที่ฝึกปฏิบัติในและนอกชั้นเรียน และจากการทดสอบในชั้นเรียน และการสอบกลางภาค และปลายภาคเรียน
 -     ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
 -     ความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม   การแก้ปัญหาในการทำการออกแบบฯ
 -     ความตรงต่อเวลา
-     บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
-     มอบหมายให้ปฏิบัติงาน
-     ตรวจงานด้วยการให้ น.ศ. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
-     สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
-     สอบทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค
-    การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้
-    การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
-  ฝึกการค้นคว้าข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ IT.
-  ฝึกทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การส่งข้อมูลทาง E-MAIL.
สอนโดยการบรรยายตัวอย่างโครงงานออกแบบ แล้วให้นักศึกษาปฏิบัติการค้นคว้าข้อมูล และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานทั้งในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
 
             -   ตรวจการเสนอโครงการย่อย
             -   ตรวจงานที่มอบหมายรายสัปดาห์
             -   ตรวจสอบโครงงานออกแบบฯที่มอบหมาย
นักศึกษาจะมีทักษะด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามหลักการออกแบบอย่างมีระบบ และมีคุณภาพ
 
สอนโดยการบรรยายตัวอย่างโครงงานออกแบบ แล้วให้นักศึกษาปฏิบัติการค้นคว้าข้อมูล และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานทั้งในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
 
             -   ตรวจการเสนอโครงการย่อย
             -   ตรวจงานที่มอบหมายรายสัปดาห์
             -   ตรวจสอบโครงงานออกแบบฯที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธุ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 43023247 ออกแบบผลิตภัณฑ์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กำหนดในรายละเอียดของหลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมิน และสัดส่วนของการประเมิน การประเมินผลนักศึกษามีคะแนนรวม 100% โดยจำแนกคะแนนดังนี้ คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้ ก หรือ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค + หรือ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+ คะแนนร้อยละ 50-55 ได้ ง หรือ D ต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้ จ หรือ F - ประเมินงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติทุกสัปดาห์ - ประเมินจากผลการสอบ สอบกลางภาค และปลายภาค - ประเมินจิตพิสัยหลังการสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30 % ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30 % การทดสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 30% จิตพิสัย 10%
• แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
• ให้อาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาแจ้งผู้รับผิดชอบรายวิชา ในกรณีที่เกิดปัญหาของผู้เรียน
  เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชานี้
• ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามที่ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ
• การสังเกตการณ์การเรียนรู้
• แบบทดสอบย่อยในชั้นเรียนเมื่อจบบทเรียน
• ผลการทำโครงการฯ
• ทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประเมินการสอนและผลการประเมิน
  ประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
• ปรึกษาและสรุปทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน
• สัมมนาการจัดการเรียนการสอนในระดับภาควิชา ร่วมกับผู้รับผิดชอบรายวิชา
  และผู้สอนในกลุ่มวิชาหลักสาขา
• วางแผนและดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
• ในระหว่างกระบวนการสอน มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ โดยการ
  สอบถามจากนักศึกษา อาจารย์ผู้สอน และแบบทดสอบย่อยในชั้นเรียน
• เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา มีการสนทนาแลกเปลี่ยน
  ข้อมูลระหว่างกลุ่มอาจารย์ผู้สอน และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการใน
  สาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบผลงาน
  วิธีการให้คะแนน และพฤติกรรมในการเรียนรู้และส่งงาน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ควรมีการปรับปรุงรายละเอียดย่อยของรายวิชา
ตามผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนเป็นรายปี และปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
(จากผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนและจากนักศึกษา)  และผลการทวนสอบมาตรฐานสัมฤทธิ์