คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน

Mathematics and Statistics in Daily Life

1.1 เพื่อให้นำคณิตศาสตร์พื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.2 เพื่อให้มีทักษะการคิดและคำนวณทางคณิตศาสตร์
1.3 เพื่อให้มีทักษะในการ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย
1.4 เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
เพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2559
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินโดยใช้ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์การเงินและเบี้ยประกัน นำความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน และนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และสถิติ
3.1 วัน พฤหัสบดี เวลา 09.00 – 12.00 น. ห้อง ศษ 1212 โทร 0826937658
3.2 e-mail; Manus_sawangngam@hotmail.com พุธ เวลา 20.00 - 21.00
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
บรรยายคุณธรรมให้เกิดความเข้าใจและความตระหนัก
นำไปปฏิบัติในกิจกรรมการเรียน
การสังเกตพฤติกรรมให้น้ำหนักเป็นคะแนน
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สอนแบบบรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างให้เข้าใจ
ฝึกแก้ปัญหาโจทย์
ตรวจคำตอบจากการทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน
ตรวจคำตอบการทำข้อสอบอัตนัยระหว่างเรียนและข้อสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
สอนโดยกระบวนคิด
ตรวจกระบวนการคิดคำตอบจากการทำโจทย์ฝึกทักษะระหว่างเรียน
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
บรรยายทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบให้เข้าใจและความตระหนัก
นำไปปฏิบัติในกิจกรรมการเรียน
สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
สอนทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลขโดยใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี
ตรวจสอบผลการวิเคราะห์
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3 .ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2
1 GEBSC101 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.คุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ การเข้าชั้นเรียน ตรงเวลา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 6,12 20%
3 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค 9 30%
4 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งแบบฝึกหัด ทุกสัปดาห์ 10%
5 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา การสอบปลายภาค 17 30 %
แผนกคณิตศาสตร์. 2554. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์และสถิติกับชีวิตประจำวัน
       แผนกคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
       มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง (2550).สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติประยุกต์
          คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ชัชวาล เรืองประพันธ์ (2544). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์
          มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประไพศรี สุทัศน์ ณ อยุธยา และ พงศ์ชนัน เหลืองไพบูลย์ (2549). สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
          บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด กรุงเทพฯ.
บทความเกี่ยวกับสถิติ จากเวบไซต์ต่างๆ และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
- การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
- แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
- ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบ ข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา