การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานองค์ประกอบประโยชน์จากการใช้งานด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลกระทบ การใช้งานด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อสังคม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการนำความรู้ ความเข้าใจในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้อง และนำไปประยุกต์ใช้งานต่างๆ ในด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์  ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมในปัจจุบัน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และสังคม
บรรยายหลักการเขียนโปรแกรม และสอนวิธีการเขียนโปรแกรมบนซอร์ฟแวร์ บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์อย่างต่อเนื่อง อภิปรายกลุ่ม

กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   ประเมินจากวินัย และ พฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม                                  ขอบเขตให้ตรงเวลา
1.3.2   ประเมินผลจากคุณภาพของงานทีรับมอบหมาย และมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.2.1 บรรยายหลักการเขียนโปรแกรม และสอนวิธีการเขียนโปรแกรมบนซอร์ฟแวร์ 2.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์อย่างต่อเนื่อง 2.2.3อภิปรายกลุ่ม

2.2.4 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   ประเมินจากวินัย และ พฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม                                  ขอบเขตให้ตรงเวลา
1.3.2   ประเมินผลจากคุณภาพของงานทีรับมอบหมาย และมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
(1) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
.2.1  สอนการคิดอย่างเป็นระเบียบ โดยการยกตัวอย่างจากสภาพต่างๆ
           3.2.2  วิเคราะห์ศึกษาการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบและเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการนำทฤษฎีที่เหมาะสมมาใช้
           3.2.3  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติของนักศึกษา
           3.2.4   การมอบให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเขียนขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาทาง
คอมพิวเตอร์และปฎิบัติจริวด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
           3.3.1  สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีมีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี
           3.3.2  วัดผลจากการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
           3.3.3  สัมภาษณ์ และสังเกตพฤติกรรม การแก้ไขปัญหา
(6) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างต่อเนื่อง
      4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
      4.2.2   มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนดเวลา
(1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2.1  มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าการณีศึกษาด้วยตนเองจากเว็บไซต์
          5.2.2  อภิปรายในห้องเรียนตามเวลาและจังหวะที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละเรื่อง
          5.2.3  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1  ประเมินจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย
          5.3.2  ประเมินจากการนำเสนองานกลุ่ม
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.1   อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักวาการ
          6.2.2  มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา
          6.2.3  ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดขอบกัน
          6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและโทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความสร้างสรรค์และลงมือเขียนโปรแกรมด้วยใจรัก
 6.3.1   สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ ในเรื่องเวลา วิธีการและผลงานที่ได้รับ การทำงานร่วมกัน
          6.3.2  พิจารณาผลการปฏิบัติการทดลอง รวมทั้งงานที่มอบหมาย
          6.3.3  สังเกตพฤติกรรมการเขียนโปรแรมและจดบันทึก
          6.3.4  พิจารณาผลการปฏบัติงานการเขียนโปรแกรม
          6.3.5  ให้คะแนนผลการปฏิบัติงานโปรแกรมต่างๆ โดยเปิดเผย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 – 1.5 3.1 – 3.5 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 8 16 20% 25%
2 4.1 – 4.2 5.1 – 5.5 6.1 – 6.2 - ทดสอบย่อย - การส่งงานกลุ่ม - การปฏิบัติงานตามที่มอบหมายรายบุคคล ตลอดภาค การศึกษา 45%
3 1.1 – 1.5 -ความตรงต่อเวลา และซื้อสัตย์ในการทํางาน -การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วม การอภิปราย เสนอความคิดเห็น ในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
 
 
- ดร. ณรงค์ เมตไตรพันธ์,เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์, 2559 - Lealy Anne Robertson, Simple Program Design (A Step-by-step Approach)  C&C Offset Printing, Hong Kong,  2006 - Robert Sedgewick, Algorithms in C  PART 1-4, Addison Wesley, 1998               - ดร. สุเทพ มาดารัศมี, ปรียากรทิพวัย, การเขียนโปรแกรมภาษา C, บริษัทสํานักพิมพ์ท๊อปจํากัด, 2550   - โอภาส เอี่ยวสิริวงศ์, การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา C, บริษัทซีเอ็ดยูชั่น จํากัด มหาชน,2552
 
 
- นิรุธ อํานวยศิลป์, คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C, บริษัท โปรวิชั่น จํากัด, 2546       - ธนัญชัย ตรีภาค, กรณีศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C, บริษัทซีเอ็ดยูชั่น จํากัด มหาชน, 2555       - ผศ. สานนท์ เจริญฉาย, การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึมกรณีตัวอย่างภาษา C พิมพ์ครั้งที่ 8 , เชนพริ้นติ้ง, 2552 - ผศ. ดอนสัน ปงผาบ, ภาษาซีและ Arduino, สํานักพิมพ์ สสท, 2560 - โศรฎา แข็งการ, กนต์ธร ชํานิประศาสตร์, การใช้งาน matlab สําหรับงานทางวิศวกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี    สุรนารี, 2556 
- http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=129
- http://www.jk.rmutl.ac.th/ -https://www.arduino.cc/ -https://ch.mathworks.com/
-https://www.youtube.com/watchv=ZeMV0ZtixNc&list=PLpuOOb1LNswPrfGbihe4umjfmtAX8Ccwc&index=3 (SIPA สอนเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี)