แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Database System Concepts
1. เพ่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสามารถอธิบายเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล สามารถอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างหน่วยเก็บข้อมูล
2. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและอธิบายแบบจำลองข้อมูลและระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและสามารถออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยใช้แผนภาพอี-อาร์
4. เพื่อให้นักศึกามีความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยวิธีการทำให้อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐาน (Normalization)
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้เกี่ยวกบการออกแบบฐานข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการดำเนินการทางธุรกิจ
6. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบภาษา SQL ในการจัดการเก็บข้อมูล การนำข้อมูลมาประมวลผล การเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาระบบงานและการรักษาความปลอดภัยในฐานข้อมูล
2. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและอธิบายแบบจำลองข้อมูลและระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและสามารถออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยใช้แผนภาพอี-อาร์
4. เพื่อให้นักศึกามีความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยวิธีการทำให้อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐาน (Normalization)
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้เกี่ยวกบการออกแบบฐานข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการดำเนินการทางธุรกิจ
6. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบภาษา SQL ในการจัดการเก็บข้อมูล การนำข้อมูลมาประมวลผล การเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาระบบงานและการรักษาความปลอดภัยในฐานข้อมูล
1. เพื่อให้นักศึกษามีฐานความรู้ที่เป็นรูปธรรมในการศึกษาวิชาอื่น ๆ ในสาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2. เพื่อให้นักศึกาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้เพื่อใช้ประกอบอาชีพได้
2. เพื่อให้นักศึกาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้เพื่อใช้ประกอบอาชีพได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการประมวลผลแฟ้มข้อมูล สถาปัตยกรรมข้อมูล สารสนเทศ และฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูลด้วยแบบจำลองข้อมูลเชิงแนวคิด แบบจำลองเชิงสัมพันธ์ด้วยอีอาร์โมเดล แบบจำลอง ข้อมูลเชิงตรรกะ การแปลงโครงสร้างเชิงแนวคิดไปเป็นโครงสร้างเชิงสัมพันธ์ การนอร์มัลไลเซซัน และบอยส์คอดนอร์มัลไลเซซัน แบบจำลองข้อมูลเชิงกายภาพ ภาษาเอสคิวแอล พีชคณิตสัมพันธ์ ฐานข้อมูลแบบกระจายและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจอัจฉริยะ คลังข้อมูล และเหมืองข้อมูล
- อาจารย์ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำวิชา ประกาศให้คำปรึกษาผ่านสื่อสังคมออนไลน์
- อาจารย์ประจำวิชา ประกาศให้คำปรึกษาผ่านสื่อสังคมออนไลน์
1.1.1 มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
1.2.2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.3 กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น
1.2.2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.3 กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น
1.3.1 การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา
1.3.2 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนด การมอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและอาจารย์
1.3.2 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนด การมอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและอาจารย์
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2 มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
2.1.2 มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
2.2.1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.4 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
2.2.5 ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจิรง
2.2.6 การถามตอบในชั้นเรียน
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.4 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
2.2.5 ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจิรง
2.2.6 การถามตอบในชั้นเรียน
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
2.3.4 ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
2.3.6 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย การนำเสนอหน้าชั้นเรียน รายงาน การค้นคว้า
2.3.2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
2.3.4 ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
2.3.6 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย การนำเสนอหน้าชั้นเรียน รายงาน การค้นคว้า
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.1 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
3.2.2 การศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3.2.3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมและมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.2.2 การศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3.2.3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมและมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
3.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงาน การอภิปรายกรณีศึกษา
3.3.3 ประเมินจากผลทดสอบ โดยออกข้อสอบให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงาน การอภิปรายกรณีศึกษา
3.3.3 ประเมินจากผลทดสอบ โดยออกข้อสอบให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา
4.1.1 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.2.2 จัดให้นักศึกษาทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
4.2.3 มอบหมายงานเพื่อให้เกิดการระดมความคิด ให้ความสำคัญในการให้ความร่วมมือ
4.2.2 จัดให้นักศึกษาทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
4.2.3 มอบหมายงานเพื่อให้เกิดการระดมความคิด ให้ความสำคัญในการให้ความร่วมมือ
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม
4.3.2 พฤติกรรมจากการรายงานหน้าชั้นเรียน การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2 พฤติกรรมจากการรายงานหน้าชั้นเรียน การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5.1.1 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.1.2 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบัต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.1.2 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบัต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูลและการำเสนอผลงาน
5.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จากกรณีศึกษา
5.2.3 มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จากกรณีศึกษา
5.2.3 มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินจากการอธิบายหลักการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ||
---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
1 | BBAIS910 | แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.1, 2.1.1, 2.1.2, 3.1.5 | ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 18 | 10% 25% 25% |
2 | 1.1.4, 1.1.5, 2.1.7, 3.1.4, 4.1.4, 5.1.2, 5.1.4, 5.1.6 | วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าและนำเสนอ | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | 1.1.4, 1.1.5, 2.1.5, 2.1.9, 4.1.1, 4.1.3, 4.1.6, 5.1.4, 5.1.6 | การทำงานกลุ่มและผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | 1.1.2, 1.1.3, 5.1.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การอภิปราย และแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์. 2546. ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
ศิริลักษณ์ โรจนกิจอำนวย. 2540. ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
ศิริลักษณ์ โรจนกิจอำนวย. 2540. SQL. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์. 2547. ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 10. ขอนแก่น :
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยของแก่น.
สมจิตร อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์. 2549. หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล.
ขอนแก่น : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยของแก่น.
Korth, Henry F , Silberschatz Abraham Database System Concepts 2nd Edition
McGraw-Hill2 International Edition.
ศิริลักษณ์ โรจนกิจอำนวย. 2540. ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
ศิริลักษณ์ โรจนกิจอำนวย. 2540. SQL. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์. 2547. ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 10. ขอนแก่น :
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยของแก่น.
สมจิตร อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์. 2549. หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล.
ขอนแก่น : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยของแก่น.
Korth, Henry F , Silberschatz Abraham Database System Concepts 2nd Edition
McGraw-Hill2 International Edition.
ไม่มี
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในกาเรียนในรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ