เทคโนโลยีการพิมพ์

Printing Technology

ศึกษาประวัติ หลักการทางการพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ การพิมพ์พื้นฉลุ และกระบวนการพิมพ์ไร้แรงกด ตลอดจนกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์
1. เพื่อให้เข้าใจความหมายและหลักการทางการพิมพ์
2. เพื่อให้รู้ความแตกต่างระหว่างการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ และการพิมพ์พื้นฉลุ
3. สามารถบอกประเภทการพิมพ์ที่เหมาะสมกับสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเภท
ศึกษาประวัติและหลักการทางการพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ และการพิมพ์พื้นฉลุ ข้อดีข้อจำกัดของการพิมพ์แต่ละระบบ ตลอดจนการผลิตสิ่งพิมพ์ ปฏิบัติงานด้านหลักการพื้นฐานในการถ่ายทอดภาพทางการพิมพ์
 -   จัดเวลาให้คำปรึกษาเฉพาะรายกลุ่มหรือรายบุคคล ตามความเหมาะสม
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ คำนึงถึงผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม เป็นสำคัญ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม 
4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรี ของความ เป็นมนุษย์
5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6  มีการพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนในเรื่องส่วนตัวและสังคม โดยยึดฐาน ความคิดทาง ศีลธรรม
7 ยอมรับความเป็นประชาธิปไตย ความยุติธรรม และความเท่าเทียมกันทางสังคม
1 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
2 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างหรือกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1  ประวัติและหลักการทางการพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ การพิมพ์พื้นฉลุ และระบบการพิมพ์ไร้แรงกด
2  ข้อดีข้อจำกัดของการพิมพ์แต่ละระบบ และการเลือกใช้งานให้เหมาะสม 
3  กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์
 
1 บรรยายและฉายสื่อภาพเคลื่อนไหว
2 ทำการศึกษาตัวอย่างงานพิมพ์
3 มอบหมายงาน และให้มีการนำเสนอรายงาน
4 การศึกษาดูงานสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง
1   งานที่มอบหมาย
2   การสอบภาคทฤษฎี
1 สามารถคิด และวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
2 ประมวลความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแนวทางที่ผู้สอนแนะนำ
1   การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
2   อภิปรายกลุ่ม ถามตอบข้อสงสัย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
1   การสอบภาคทฤษฎี
1   มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตน
2   มีความคิด กล้าตัดสินใจและกล้าแสดงออกอย่างถูกต้อง
3  มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานด้วยความเต็มใจ
1   จัดกิจกรรมกลุ่ม ให้ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
2   ปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ และยอบรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3   ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 
1  การสอบกลางภาคและปลายภาคการศึกษา
2  ประเมินจากผลงานที่มอบหมายและการนำเสนอ 
3  สังเกตพฤติกรรมจากการการทำงานครบถ้วนตรงตามที่มอบหมาย ส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด     
1 การคำนวณพื้นฐานเพื่อใช้ในการผลิตสิ่งพิมพ์
2 ข้อมูลด้านเทคโนโลยีทางการพิมพ์
1  ใช้เครื่องคิดเลขและสูตรคำนวณในด้านเนื้อหาท่ี่เกี่ยวข้องกับงานผลิตทางการพิมพ์
2  ให้ค้นคว้าหาความรู้ด้านเนื้อหาการเรียนโดยการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูลประกอบความเข้าใจ 
การสอบภาคทฤษฎี ทั้งกลางภาคและปลายภาค
        1   มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ถูกมอบหมาย
        2   การให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี ในการเรียนการสอน
        3   มีการเข้าเรียนตรงต่อเวลา
        4   การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบมหาวิทยาลัย
1   สร้างเจตนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน
2   ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานที่ศึกษาอยู่และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
1   พิจารณาจากพัฒนาการที่เปลี่ยนไป
2   ผลการสอบภาคทฤษฎี
3   สังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออก
4   ประเมินจากผลงานทำได้ตรงตามหัวข้อที่มอบหมาย ตรงเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการทำแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BTEPP101 เทคโนโลยีการพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การส่งงานที่มอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด เข้าเรียนในเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ การสอบกลางภาคและปลายภาคการศึกษา 8 และ 17 60%
3 ทักษะทางปัญญา วิเคราะห์ทุกเรื่องอย่างมีวิจารณญาณ สัปดาห์ที่ 14 5%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กิจกรรมกลุ่ม การมีส่วนร่วมในงานที่มอบหมาย สัปดาห์ที่ 12 และ 14 15%
5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูล การจัดทำรายงาน สัปดาห์ที่ 3 10%
- การจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ หน่วยที่ 9-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี 2553
- กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ หน่วยที่ 1-7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540
- กระบวนการพิมพ์พื้นลึก พื้นฉลุลายผ้า และการพิมพ์ไร้แรงกด หน่วยที่ 1-7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 1-4. มหาวิทยาลัยสุโขทัธรรมาธิราช, 2539
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 5-10. มหาวิทยาลัยสุโขทัธรรมาธิราช, 2539
- ระบบพิมพ์แบบต่างๆ และการนำไปใช้งาน. รศ.ดร.อรัญ หาญสืบสาย, 2548
- เทคโนโลยีการพิมพ์ ความก้าวหน้าและการนำไปใช้งาน. อรัญ หาญสืบสาย. 2557.
ไม่มี
ไม่มี
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ไม่มี
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 สามารถตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ