การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม
Life and Social Skills
ศึกษาเกี่ยวกับปรัชญาและหลักธรรมในการดำรงชีวิตและการทำงานของบุคคล การสร้างแนวคิดและเจตคติต่อตนเองศึกษาหลักธรรมกับการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งหลักการบริหารตนให้เข้ากับชีวิตและสังคมและการปรับตัวให้เข้ากับสังคม และการศึกษาถึงเทคนิคการครองใจคนและการสร้างผลิตผลในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด เจตคติที่ถูกต้องในการดำรงชีวิตของตนเอง การอยู่ร่วมกันในสังคม ตลอดจนวิธีการทำงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำหลักเกณฑ์เทคนิควิธีไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ พัฒนาพฤติกรรมและลักษณะนิสัยในการทำงานของนักศึกษาให้เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี และพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้มีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพตลอดจนมีระเบียบวินัยในชีวิตและสังคม
ศึกษาเกี่ยวกับปรัชญา คุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ และหลักธรรมในการดำรงชีวิต การพัฒนาความคิด เจตคติ บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมไทย การมีจิตสำนึกต่อส่วนรวม ศึกษาวิธีจัดการกับภาวะอารมณ์ และสร้างสัมพันธภาพ การทำงานเป็นทีม การสร้างผลิตผลในการทำงานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
— อาจารย์ประจำรายวิชา ให้นักศึกษาติดต่อดดยตรง ผ่านทาง e-mail เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ เอกสารประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
— อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
— อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนรู้จักและเข้าใจการพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ ตลอดจนการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตของตนดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้อย่างรอบคอบมีสติ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้อย่างรอบคอบมีสติ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมซักถามแนวคิดเกี่ยวกับปรัชญา หลักธรรม แนวความคิด เจตคติ ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมของมนุษย์ การทำงานเป็นทีม คุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ
1.2.2 อภิปรายกลุ่มเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ
1.2.3แบ่งกลุ่มเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
1.2.4 ใช้สื่อการสอน เช่น power point, clip และอื่นๆ
1.2.5 กำหนดข้อกำหนดการปฎิบัติตนในห้องเรียนร่วมกันในชั้น
1.2.2 อภิปรายกลุ่มเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ
1.2.3แบ่งกลุ่มเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
1.2.4 ใช้สื่อการสอน เช่น power point, clip และอื่นๆ
1.2.5 กำหนดข้อกำหนดการปฎิบัติตนในห้องเรียนร่วมกันในชั้น
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลจากการวิเคราะห์ข่าว
1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอและอภิปรายหน้าชั้นโดยใช้โปรแกรมนำเสนอผลงาน
1.3.4 สังเกตการณ์การในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
1.3.2 ประเมินผลจากการวิเคราะห์ข่าว
1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอและอภิปรายหน้าชั้นโดยใช้โปรแกรมนำเสนอผลงาน
1.3.4 สังเกตการณ์การในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 มีความรู้เบื้องต้นในทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
2.1.5 ตระหนักและเห็นความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพตลอดจนมีระเบียบวินัยในชีวิตและสังคม
2.1.6 สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 มีความรู้เบื้องต้นในทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
2.1.5 ตระหนักและเห็นความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพตลอดจนมีระเบียบวินัยในชีวิตและสังคม
2.1.6 สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การทำงานเดี่ยว การนำเสนอรายงาน การศึกษาจากกรณีตัวอย่าง และการศึกษาจากพื้นที่จริงโดยมุ่งการสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง(Student center) และเรียนโดยการแก้ปัญหา (Problem base learning)
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีรวมถึงการบูรณาการความรู้เข้ากับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ ผลการทำงานกลุ่มและการทำงานเดี่ยว
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ ผลการทำงานกลุ่มและการทำงานเดี่ยว
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การสอนวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมช่วยให้นักศึกษาสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ รู้จักคิดวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาอย่างมีสติ มีเหตุผล ฟังแนวคิดของคนอื่นๆ ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในการทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่น รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนเอง เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น และเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การสอนวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมช่วยให้นักศึกษาสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ รู้จักคิดวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาอย่างมีสติ มีเหตุผล ฟังแนวคิดของคนอื่นๆ ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในการทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่น รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนเอง เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น และเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1 การบรรยายประกอบสื่อการสอนและการร่วมกันอภิปราย
3.2.2 การทำงานกลุ่มโดยมีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน นำเสนอผลงานโดยโปรแกรมนำเสนอ
3.2.- การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.2.4 กิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
3.2.2 การทำงานกลุ่มโดยมีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน นำเสนอผลงานโดยโปรแกรมนำเสนอ
3.2.- การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.2.4 กิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงาน การมีส่วนร่วมของผู้เรียน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงาน การมีส่วนร่วมของผู้เรียน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาพัฒนาตนเองและช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-พัฒนาทักษะการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
-พัฒนาทักษะความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
-พัฒนาทักษะจิตสาธารณะทำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
-พัฒนาทักษะคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ระเบียบวิจัยในชีวิตและสังคม
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาพัฒนาตนเองและช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-พัฒนาทักษะการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
-พัฒนาทักษะความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
-พัฒนาทักษะจิตสาธารณะทำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
-พัฒนาทักษะคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ระเบียบวิจัยในชีวิตและสังคม
4.2.1 มอบหมายงานเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเองจาก website หรือสื่ออื่นๆ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการนำเสนอและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 18 | 25% 25% | |
2 | งานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งมีทั้งการทำงานกลุ่มและงานรายบุคคล การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 40% | |
3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ. (2556). การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม.
วิภาพร มาพบสุข. (2547). การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม.
พรรณราย ทรัพย์ประภา. (2548). จิตวิทยาแนว TA,
วิจิตร อาวะกุล. (2533). เทคนิคมนุษยสัมพันธ์.
วิทย์ วิศทเวทย์. (2537). ปรัชญาทั่วไป.
สมศรี สุกุมลนันท์. (2536). มารยาทสังคม.
วิภาพร มาพบสุข. (2547). การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม.
พรรณราย ทรัพย์ประภา. (2548). จิตวิทยาแนว TA,
วิจิตร อาวะกุล. (2533). เทคนิคมนุษยสัมพันธ์.
วิทย์ วิศทเวทย์. (2537). ปรัชญาทั่วไป.
สมศรี สุกุมลนันท์. (2536). มารยาทสังคม.
สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ . (2548).การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม เรื่อง มารยาทไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีรูปแบบการนำเสนอบทสรุปต่างกัน . เผยแพร่ในวารสารสมาคมนักวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม 2548
- เว็ปไซต์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม อาทิ หลักธรรมต่างๆ ที่ควรยึดถือ มารยาทในสังคมไทย, การสร้างผลิตผลในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ, เทคนิคในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น เป็นต้น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนารายบุคคลระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนผ่านระบบประเมินผู้สอน
1.1 การสนทนารายบุคคลระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนผ่านระบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การปรับปรุงการสอนวิชานี้ ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการ์ให้มีความเป็นปัจจุบัน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการ์ให้มีความเป็นปัจจุบัน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการนำเสนอของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาอย่างต่อเนื่อง
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ติดตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวการสอนในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม
5.1 ติดตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวการสอนในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม