ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

History of Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ รูปแบบงานสถาปัตยกรรมตะวันตกและสถาปัตยกรรมตะวันออกในประวัติศาสตร์ เข้าใจเหตุผลที่เป็นปัจจัยในการก่อรูปสถาปัตยกรรม เข้าใจพัฒนาการของงานสถาปัตยกรรมจากอดีต-ปัจจุบัน ทั้งประโยชน์ใช้สอย รูปทรง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง รวมทั้งลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานและพัฒนาระบบความคิดไปสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างมีเหตุผล และเห็นคุณค่าของงานสถาปัตยกรรม
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ครอบคลุม ด้านต่างๆ
ศึกษางานสถาปัตยกรรมตะวันตกและตะวันออกในสมัยประวัติศาสตร์ ปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม รูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย รูปทรง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง และลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรม
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
อบรมนักศึกษาด้านวินัย ขยัน อดทน และความรับผิดชอบ เช็คชื่อทุกครั้ง มีกติกาถ้าเกินเวลาที่กำหนดสาย เช็คผ่าน Projector เพื่อให้นศ.เห็นสถานภาพของตนเองในภาพรวม มอบหมายงานที่ศึกษาค้นคว้า โดยกำหนดเวลาในแต่ละขั้นตอนชัดเจนซึ่งนักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบและทำงานตามกำหนดเวลา
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน ความรับผิดชอบในการดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม จากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน จากการทำงานที่มอบหมายครบและทันตามกำหนดเวลาในแต่ละขั้นตอน (4ขั้นตอนๆละ 1 สัปดาห์)
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายประกอบสื่อการสอน ถามตอบเพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างสอน
2.2.2 เชื่อมโยงความรู้จากบทเรียนในฐานะที่เป็นกรณีศึกษากับศาสตร์ในการออกแบบ
สถาปัตยกรรม เพื่อให้นักศึกษามีหลักคิดและนำไปใช้ได้จริง
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ผลงานที่มอบหมายได้แสดงถึงความเข้าใจและการบูรณาการ
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 สอนโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ  การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
3.3.2  ผลงานที่นำเสนอมีความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
4.1.1 การจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
4.2.1 จัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มให้ร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในการร่วมกลุ่ม
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าสถาปัตยกรรมในสมัยประวัติศาสตร์ด้วยตนเองจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือและนำเสนอใน fb ตามขั้นตอน 4 ขั้น (เสนอหัวข้อ, เสนอเนื้อหาประกอบภาพ9ประเด็น, ให้เพื่อนทำการศึกษาและตั้งคำถาม 5 ข้อ, นศ.ค้นคว้าความรู้มาตอบคำถามและวิเคราะห์สรุปผลการเรียนรู้ )
5.3.1 ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และนำเสนองาน รวมทั้งดำเนินการครบตามขั้นตอนและตามเวลาที่กำหนด
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42002206 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การดูแลสภาพห้องเรียน การเข้าชั้นเรียน การส่งงาน การเข้าสอบ ตรงตามเวลา 1-18 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 20% 20%
3 ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 10% 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - (ไม่มีการทำงานเป็นกลุ่ม) - -
5 ทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ งานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า 10-13 30%
Bill Risebero, The Story of Western Architecture


Dietrich Wildung, Egypt from Prehistory to the Roman, Taschen, German , 1997. Henri Stierlin, Greece from Mycenae to the Parthenon, Taschen, Germany, 1997. John Julius Norwich, Great Architecture of the World, Mitchell Beazley Publisher

Limited, London, 1975.

Lucy Peel, An Introduction to 20th Century Architecture, Regant Publishing Service Ltd.,Hong Kong, 1989. Michael Freeman & Ceaude Jacques, Ancient Angkor, Amerin Printing and Publishing (Public) Co.Ltd, 2006.


Paul Hamlyn , World Architecture , The Hamlyn Publishing Group Ltd. , Italy , 1968. Pierre Amiet , Forms and Styles Antiquity , Evergreen , Slovakia , 1981. Mario Bussagli, Oriental Architecture 2, (History of World Architecture) , Italy 198

10. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , อารยธรรมสมัยโบราณ – สมัยกลาง ,
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ , 2533.
12. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , อารยธรรมสมัยใหม่ – ปัจจุบัน ,
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ , 2540.

ทวี ทองสว่าง , สรุปภูมิศาสตร์ยุโรป , สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ , 2531. อัศนีย์ ชูอรุณ , ประวัติศาสตร์ศิลปะยุคฟื้นฟูและยุคใหม่ , สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ ,

กรุงเทพฯ , 2537.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
htpp://th.wigipedia.org/wiki/สถาปัตยกรรมตะวันตก
htpp://th.wigipedia.org/wiki/western architecture
htpp://th.youtube
สอบถามนักศึกษาถึงจุดอ่อน จุดแข็งของรายวิชาและสิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุงขณะสอน แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินการสอน
2.2 ข้อมูลจากมคอ.5 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา
3.1 นำผลการประเมินรายวิชา และการประเมินการสอนมาปรับปรุงในจุดอ่อน
3.2 แก้ปัญหาข้อจำกัดด้านทรัพยากรที่มีเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนของนักศึกษา
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงแผนการสอนทุกปี
5.2 เสนอให้มีการปรับปรุงรายวิชาตามรอบการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี