ศิลปะการแกะสลักและการจัดดอกไม้

Arts of Carving and Flower Arrangement

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับศิลปะการแกะสลักและการจัดดอกไม้ในโรงแรม การเตรียมตัว ความพร้อม  การถนอมรักษา  การแกะสลัก ผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน การประดิษฐ์งานใบตอง เพื่อนำไปจัดตกแต่งโต๊ะอาหาร  การจัดดอกไม้แบบต่างๆ เพื่อประดับตกแต่งโรงแรมในโอกาสต่างๆ ซึ่งหลังจากที่จบการศึกษาในรายวิชานักศึกษาต้องปฏิบัติได้จริง
เพื่อพัฒนาแนวทางให้นักศึกษาได้มีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ สามารถนำไปประยุกต์และบูรณาการเพื่อประโยชน์ในการประกอบวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดผักและผลไม้ การปอก การคว้าน และการแกะสลัก ผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปจัดตกแต่งโต๊ะอาหาร การประดิษฐ์ ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงาม เหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยงการจัดดอกไม้แบบต่างๆ ลักษณะของภาชนะที่ใช้ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาสต่างๆ
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1-2  ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3  มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการ พัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
1.1.4  มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1  เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความมร่วมมือต่าง ๆ
1.2.2  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
1.2.3  สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
1.3.2  พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
1.3.3  ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4  เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
2.1ความรู้เกี่ยวกับการแกะสลัก งานใบตอง และการจัดดอกไม้โดยมีเนื้อหาในรายละเอียดต่อไปนี้
2.2.1 มีความรู้ในเรื่องการแกะสลัก
2.2.2 มีความรู้ในเรื่องงานใบตอง
2.2.3 มีความรู้ในเรื่องการจัดดอกไม้
บรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ รายงาน ฝึกปฏิบัติการทำงานเป็นกลุ่ม   โดยนำหลักการทฤษฎีมาประยุกต์ใช้
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   พิจารณาจากการปฏิบัติงาน ชิ้นงานสำเร็จ และรายงาน
3.1ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ  มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจาการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากผลงานจริง
3.2.2   การศึกษา ค้นคว้า และรายงาน
3.3.1   จากผลงานสำเร็จ
3.3.2   จากการรายงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   กำหนดการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2.2   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็น
4.2.3  ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3.1   ประเมินพฤติกรรมการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน
5.3.2   ประเมินผลจากการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1- 4.9 5.1 – 7.5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 40%
2 1.2 - 7.6 ฝึกปฏิบัติการทำงาน บันทึกปฏิบัติงาน 1-16 50%
3 1.1- 7.6 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10%
ศักรินทร์  หงส์รัตนาวรกิจ.  แกะสลักและการจัดตกแต่ง. 
กีรติ ชนา การจัดดอกไม้ขั้นพิ้นฐาน
สุพัตรา ศรีอุดร, สมัย ศรีอุดร งานใบตอง๒
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลวิชา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2 การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการแกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4