การแกะสลักเพื่อการตกแต่ง

Carving for Decorative purposes

1.1  เห็นคุณค่าของงานแกะสลักผักผลไม้
1.2  เข้าใจความหมายและความสำคัญของงานแกะสลักผักผลไม้
1.3  เลือกวัสดุ อุปกรณ์ ในการแกะสลักผักผลไม้
1.4  เข้าใจวิธีการแกะสลักผักและผลไม้
1.5  แกะสลักผักผลไม้เพื่อนำไปจัดตกแต่งอาหาร โต๊ะอาหารและสถานที่
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการแกะสลัก เพื่อนำไปจัดตกแต่งอาหาร โต๊ะอาหารและสถานที่
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การแกะสลักผักผลไม้ และสบู่ เทคนิคการแกะสลัก การประยุกต์ลาย การแกะสลักเพื่อการตกแต่งอาหาร โต๊ะอาหารและสถานที่
แนะนำให้คำปรึกษาในชั้นเรียน 
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1-2  ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
˜  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. สอดแทรกจิตสำนึกสาธารณะและการตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม ในการสอนในชั้นเรียน
2. ปลูกฝังจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในการสอนในชั้นเรียน เช่นการอ้างอิงเอกสารในการจัดทำรายงาน หรือจรรยาบรรณอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
3. ให้ความสำคัญในเรื่องวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกถึงจิตสำนึกสาธารณะและการตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม
2. ตรวจสอบการเขียนอ้างอิงในรายงานที่ถูกต้อง และผลงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ
3. พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลา การแต่งกายที่เหมาะสม และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ตรงเวลา
˜ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 ˜ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การสอนแบบบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ รายงาน  โดยนำหลักการทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ประยุกต์ใช้
2. มอบหมายงานให้ออกแบบงานแกะสลักผักผลไม้โดยค้นคว้าทางInternet
3. มอบหมายงานให้ออกแบบงานมาลัยโดยประยุกต์กับความรู้ในวิชาอื่นๆ เพื่อให้งานมาลัยมีความแปลกใหม่สร้างสรรค์มากขึ้น
1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2   พิจารณาจากการปฏิบัติงาน ชิ้นงานสำเร็จ และรายงานที่มอบหมาย
3.ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
˜  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1   ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากผลงานจริง
2   การศึกษา ค้นคว้า และรายงาน
1   จากผลงานสำเร็จและจากรายงาน
2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
™ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜ มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
™ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1   กำหนดการทำงานเป็นกลุ่ม
2   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็น
3  ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1   สังเกตการทำงานเป็นกลุ่ม
2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
™  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜ สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
˜ สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 .  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
2 .  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.   ประเมินจากรายงาน
2.   ประเมินผลจากการออกแบบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการคิดวิเคราะห์ 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 24057201 การแกะสลักเพื่อการตกแต่ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การรับผิดชอบงานที่มอบหมาย 1-16 5%
2 ความรู้ ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค 1-8 10-16 40%
3 ทักษะทางปัญญา การปฏิบัติงาน และทดสอบย่อย 1-16 5%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 1-16 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การเขียนบันทึกปฏิบัติงานและงานที่มอบหมาย 1-16 5%
6 ด้านทักษะ พิสัย ผลงานการฝึกปฏิบัติ และสอบปฏิบัติ 1-16 40%
1. คนึงนิจ กัณหะกาญจนะ. (2554). ศิลปะการแกะสลักผักและผลไม้. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้า.
๒. วันดี ณ สงขลา. (2551). แกะผักสลักผลไม้. กรุงเทพฯ: บริษัท ส. เอเชียเพรส(1989)จำกัด.
3. ศักรินทร์  หงส์รัตนาวรกิจ. (2550). แกะสลักและการจัดตกแต่ง. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้า.
๔. อาภา  จงจิตต์. (2550).  การแกะสลักผักสดและผลไม้. กรุงเทพฯ: บริษัท อักษราพิพัฒน์ จำกัด.
เวปไซด์ เกี่ยวกับการแกะสลักผักผลไม้
ผลการเรียนและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา
ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
กลยุทธ์การประเมินการสอนโดยเดูจากผลการเรียน การฝึกปฏิบัติของนักศึกษา ผลการประเมินการสอน และการสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน 
นำผลการเรียน ผลงานการแกะสลักของนักศึกษา ผลการประเมินการสอน และการสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน มาปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดียิ่งขี้น
การทวนสอบโดยดูจากผลการประเมินของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาจากผลการเรียน ผลงานแกะสลักของนักศึกษาและผลการประเมิน ในมคอ.3 ของการสอนในครั้งต่อไป และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน