ธุรกิจปศุสัตว์
Livestock Business
1.1 ศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับหลักและความหมายของการจัดการธุรกิจปศุสัตว์ องค์ประกอบการจัดการและการบริหารงานฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ การจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต การบันทึกบัญชีฟาร์มและการแสดงความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
1.2 เข้าใจการจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต รวมทั้งการบันทึกบัญชีฟาร์ม
1.3 เข้าใจและวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
1.2 เข้าใจการจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต รวมทั้งการบันทึกบัญชีฟาร์ม
1.3 เข้าใจและวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
เพิ่มเนื้อหาที่ทันสมัยในทางธุรกิจมากขึ้น และปรับปรุงในกระบวนการที่จะให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้แบบ Child Center มากขึ้น หลังจากจบการเรียนการสอนให้มีการจัดทำโครงการนำเสนอทางธุรกิจที่สนใจมา 1 โครงการ และเพื่อเป็นการทวนสอบนักศึกษาถึงความเข้าใจและนำไปใช้ได้จริง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักและความหมายของการจัดการธุรกิจปศุสัตว์ องค์ประกอบการจัดการและการบริหารงานฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ การจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต การบันทึกบัญชีฟาร์มและการแสดงความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
จัดให้นิสิตพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบบรรยาย
. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบบรรยาย
1.การฝึกตีความ
2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.การประเมินตนเอง
2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.การประเมินตนเอง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโน โลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโน โลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
2.การสอนแบบบรรยายและ
เชิงอภิปราย
2.การสอนแบบบรรยายและ
เชิงอภิปราย
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
2.ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนแบบสร้างแผนผัง
ความคิด (Concept Mapping)
2.การสอนแบบ Brain
Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปราย
กลุ่มย่อย (Small - Group
Discussion)
ความคิด (Concept Mapping)
2.การสอนแบบ Brain
Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปราย
กลุ่มย่อย (Small - Group
Discussion)
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน
และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษา
มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการ
เปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจ-
กรรมที่มอบหมาย เพื่อให้
นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับ
ผู้อื่น
จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน
และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษา
มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการ
เปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจ-
กรรมที่มอบหมาย เพื่อให้
นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับ
ผู้อื่น
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทค โนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทค โนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.กระบวนการสืบค้น (Inquiry
Process) และแนะนำการ
สืบค้นด้วยเทคโนโลยีสาร
สนเทศ
2.ใช้ Power point และมีการ
นำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์
เนตร่วมด้วย
Process) และแนะนำการ
สืบค้นด้วยเทคโนโลยีสาร
สนเทศ
2.ใช้ Power point และมีการ
นำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์
เนตร่วมด้วย
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองานรายงาน
2. การนำเสนองานรายงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะกาวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ด้านทักษะปฏิบัติ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. | 2. | 3. | 4. | 1. | 2. | 1. | 2. | 1. | 2. | 3 | 4 | 1. | 2 | 3. | 1. | 2. | 3. |
1 | 23024320 | ธุรกิจปศุสัตว์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | สามารถคิดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ในเชิงธุรกิจได้ สามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการผลิต และผลกำไร โดยผ่านแบบทดสอบ รวมทั้งรายงานและการนำเสนอ | สอบกลางภาค สอบปลายภาค วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน | 1.สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 10 2.สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 16 3.วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ประเมินตลอดภาคการศึกษา | 1. 25% 2. 35% 3. 40% |
1.1 หนังสือการจัดการฟาร์ม
1.2 หนังสือการลงทุนและการบัญชี
1.2 หนังสือการลงทุนและการบัญชี
รายงานการผลิตปศุสัตว์ของกองเศรษฐกิจการเกษตร
วารสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ รายงานการวิจัย หนังสือพิมพ์ รายงานของธนาคารต่าง ๆ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2.1 การประเมินการสอนจากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษา ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป