การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ

Business Data Communication and Network

1.1 รู้และเข้าใจถึงระบบและองค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
1.2 อธิบายการทำงานขององค์ประกอบต่าง ๆ ในการส่งผ่านข้อมูลแบบต่างๆ
1.3 รู้วิธีการการควบคุมการส่งข้อมูล และการหาเส้นทางส่งข้อมูลระบบเครือข่าย
เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดและสอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 โดยเน้นให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และประยุกต์ความรู้ทางระบบสารสนเทศที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
องค์ประกอบและพื้นฐานการสื่อสารข้อมูล มาตรฐานการสื่อสาร สื่อส่งสัญญาณ การส่งข้อมูลแบบอนาล็อก การส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ตัวแบบการสื่อสาร ข่ายงานการสื่อสาร ข่ายงานท้องถิ่น ข่ายงานวงกว้าง ข่ายงานไร้สาย การออกแบบเครือข่ายเพื่องานธุรกิจ การจัดการเครือข่ายในงานธุกิจ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
     3.1  วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้อง BA104
           โทร. 0632235992
     3.2   e-mail: yu.nathasit@gmail.com
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
š1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
š1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
š1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและหรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
š2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
š2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
š2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
š2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือกาประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
š2.8 สามารถบูรณการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
š3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
š3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
š3.4 สามรถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
š4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่แก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
š4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
˜5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบการสื่อสารการนำเสนออย่างเหมาะสม
š5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.ใช้  Power point  
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
˜1.  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
š2.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
3.  สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
š4.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
5.  สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ผลการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5
1 12032204 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2(1) 1,2,4,5,6,7 3(1) 1,2,3,5 ทดสอบย่ อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 3,8,12 8 16 15% 20% 30%
2 4(1) 8 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 5% 10%
3 5(1) 2,3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าการนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ 20%
-  สไลด์ประกอบการบรรยายตามแผนการสอน
-  การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กทม : มทร.ธัญบุรี  กทม., 2551.
-  William Stalling,  Data and Computer Communication . Pearson; 9th Ed , 2011
-  Forouzan . Data Communications and Networking . McGrawHill, 4th Ed , 2007
-  Fred Halsall . Data Communications, Computer Networks, and Open Systems,  
   Addison Wesley, 4th Ed . 2010
-  http://www.ieee.org/
-  http://www.tcpipguide.com/
-  เรืองไกร รังสิตพล.เจาะระบบ TCP/IP. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น, 2544.
-  เจษฎา ศิริยันต์.การออกแบบ และจัดการระบบเครือข่าย. กรุงเทพฯ : ซิเอ็ด, 2540.
-   อภิชาติ อัศวาดิศยางกูร.ทฤษฎีและการใช้ระบบเครือข่าย LAN. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2536.
-  อรรนพ ขันธิกุล.เจาะระบบ Network ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : ไอดีซี อินโฟ, 2546.
-  เกษรา ปัญญา.ระบบการสื่อสารข้อมูล. ภูเก็ตฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต,2548.
-  http://cpc.sru.ac.th
-  http://www.nectec.or.th
-  http://www.cisco.com
-  http://www.freeBSD.com
 
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ โดยนักศึกษาให้ข้อเสนอแนะหลังจบการสอนในแต่ละบทเรียน และผ่านช่องทางของ mail เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น
  - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
  - การประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา (แบบสอบถาม, แบบประเมิน)
              - ขอข้อเสนอแนะในระหว่างที่สอนในชั้นเรียนและในช่วงการนำเสนอโครงงานกลุ่ม 
กลยุทธ์การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอนได้กำหนดไว้ดังนี้
  -  สอบถามความเข้าในระหว่างการเรียนการสอน
  -  ประเมินจากการสอบถามในระหว่างเรียน
  -  นำผลการประเมินโดยนักศึกษามาปรับปรุงการสอน
  -  ประเมินจากการสอบถามในระหว่างเรียน
  -  ประเมินจากผลการเรียนของนักศึกษา
  -  ประเมินจากผลจากใบปฏิบัติงาน
ศึกษาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้อง จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในวิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มวิทยาเขตที่ใช้หลักสูตรร่วมกัน และการวิจัยในชั้นเรียน
4.1  ทวนสอบคะแนนสอบของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน
    4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์กนสอนแต่ละหน่วยเรียน
.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)