การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์

Computer Graphics Design

1.1 นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
1.2 นักศึกษาเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์ที่จำเป็นและใช้งานในคอมพิวเตอร์กราฟิก
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้งานซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ในการพัฒนางานด้านกราฟิก
1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำคอมพิวเตอร์กราฟิกไปใช้ในการพัฒนาและออกแบบโปรแกรมทางกราฟิกต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความรู้พื้นฐานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์กราฟิก การทำงานของอุปกรณ์ที่จำเป็นและใช้งานในคอมพิวเตอร์กราฟิก ใช้งานซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ในการพัฒนางานด้านกราฟิก  นำคอมพิวเตอร์กราฟิกไปใช้ในการพัฒนาและออกแบบโปรแกรมทางกราฟิกต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในการทำงานในอนาคต
ศึกษาโปรแกรมกราฟิกที่ใช้ในการสร้างภาพ ตกแต่งภาพ การเพิ่มแสงสีแบบลายต่างๆ ให้กับภาพ การเคลื่อนไหวของภาพ โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร์มี 2 มิติ ในระดับพื้นฐานการนำเสนอภาพเคลื่อนไหวบนเว็บ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
š1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
š1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
š1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและหรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
š2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
š2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
š2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
š2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือกาประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
š2.8 สามารถบูรณการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
š3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
š3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
š3.4 สามรถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
š4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่แก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
š4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
˜5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบการสื่อสารการนำเสนออย่างเหมาะสม
š5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.ใช้  Power point  
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
 
˜1.  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
š2.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
3.  สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
š4.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
5.  สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ผลการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5
1 12033101 การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 1 บทที่ 2 5 5%
2 3,4 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 3 บทที่ 4 7 5%
3 1-4 การสอบกลางภาค บทที่ 1-7 8 30%
4 5 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 7 บทที่ 8 13 5%
5 6 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 10 16 5%
6 5,6,7 การสอบปลายภาค บทที่ 8-10 17 30%
7 งานที่มอบหมาย 1-8, 10-17 10%
8 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-17 10%
เกียรติพงษ์ บุญจิตร.  Photoshop CC Professional Guide.  กรุงเทพฯ : ไอดีซี พรีเมียร์, บจก., 2555.
             ปิยะ นากสงค์.  Photoshop CS3 ฉบับสมบูรณ์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย, 2550.
               อนัน วาโซะ.  Photoshop CC Basic Retouch ฉบับมือใหม่หัดแต่งภาพ.  กรุงเทพ ฯ:  ไอดีซี พรีเมียร์, บจก., 2559.
-
ถาวร สายสืบ. กราฟิกคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. [ออนไลน์]. http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355541/index.asp. (20 เมษายน, 2554).
              CSW TEAM.  งานกราฟิก. [ออนไลน์].  http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/28/tgv/pages/home2.html.   (20 เมษายน, 2554).
1.1  อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เขียนลงบนกระดาษที่แจกให้ในชั้นเรียน
1.2  ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
 
2.1  ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
3.1  แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
3.2  แก้ไขข้อบกพร่องจากข้อเสนอแนะจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาในชั้นเรียน
3.3  การทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี)
4.1  ทวนสอบคะแนนสอบของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน
    4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์กนสอนแต่ละหน่วยเรียน
5.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)