การบัญชีต้นทุน

Cost Accounting

ศึกษาวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชี และควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย            ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง การบัญชีผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ ปัญหาการปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชี และควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง การบัญชีผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ ปัญหาการปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา
ประเมินจากการตรงต่อเวลาของการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงต่างๆ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากงานที่นำเสนอ ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีการซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล เรียนรู้จากกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
-
-
-
ข้อ 5 (1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษารวมถึงการวิเคราะห์ผลที่ได้จากการคำนวณ ให้นักศึกษานำเสนองานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะ ทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC123 การบัญชีต้นทุน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) ข้อ 3 (1) (3) ข้อ 5 (1) - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 4 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 6 - 9 9,17 40 40
2 ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) ข้อ 3 (1) (3) ข้อ 5 (1) - ประเมินจากการตรงต่อเวลาฯ - ประเมินจากงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20
ฐิตินันท์ กุมาร, การบัญชีต้นทุน 1, แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น, 2557
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วารสารวิชาชีพบัญชี

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง



 1) สภาวิชาชีพบัญชี  www.fap.or.th  2) กรมสรรพากร  www.rd.go.th  3) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  www.sec.or.th  4) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  www.set.or.th  5) ธนาคารแห่งประเทศไทย  www.bot.or.th  6) กรมศุลกากร  www.customs.go.th
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้

การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้

สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำงาน การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ทดสอบวัดผลการเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้

ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้

ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ