สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

Environment and Development

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ (ให้ถอดจาก วัตถุประสงค์หลักสูตร มคอ. 2)
1.1 1 เข้าใจความรู้พื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร
1.2 2 เข้าใจหลักนิเวศวิทยาและสมดุลธรรมชาติ
1.3 3 เข้าใจทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ มลพิษสิ่งแวดล้อม และการกำจัดมลสารทางวิทยาศาสตร์
1.4 4 เข้าใจการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการบริหารการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
1.5 5 มีเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการเรียนในวิชาชีพต่อไป
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน จริยธรรมกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Resources and environment; quality of life and environment; current environmental problems; morality and sustainable environmental development
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้องพักอาจารย์แผนกวิทยาศาสตร์ (เคมี) อาคารศึกษาทั่วไป  โทร  0-5392-1444 ต่อ 2830
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา สอบข้อเขียน นำเสนอในชั้นเรียน ผลการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา การทำงานร่วมกับผู้อื่น
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การสอนแบบ  Problem Based Learning   
สอบย่อย สอบข้อเขียนกลางภาค สอบข้อเขียนปลายภาค งานที่มอบหมายและนำเสนอเป็นกลุ่ม รายงาน ผลงานที่นำเสนอ ข้อเสนอความคิดของนักศึกษาและนำเสนอในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)

      2.การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ
ทดสอบย่อย วิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการ ประเมินระบบการทำแบบฝึกหัดและการนำเสนอ
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา

      4. สอบข้อเขียน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
สังเกตพฤติกรรมจากการใช้เครื่องมือสื่อสาร จากการมอบหมายงานและให้ส่งงาน สังเกตจากการตอบหรือการส่งงานที่ต้องใช้การเขียนตอบ
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 1 2 3
1 22000010 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.2 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 1-15 20%
4 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.2 การสอบกลางภาค 8 25%
5 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.2 การสอบปลายภาค 17 25%
7 รวม 100 %
คณาจารย์. 2556.สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. แผนกวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาภาคพายัพ เชียงใหม่
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป