การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 2

Professional Experience 2

เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ตรงจาการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ จะทำให้นักศึกษาได้รับความรู้และมีประสบการณ์ที่พร้อมจะเข้าสู่ในสาขาวิชาชีพของตนเองได้
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และเป็นการจัดให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้เรียนมาทั้งหมดและสามารถประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ และเป็นการเพิ่มพูนความรู้จากประสบการณ์ตรง และทำให้นิสิตสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อสำเร็จการศึกษา
 ปฏิบัติการสอนเพื่อรับประสบการณ์วิชาชีพครู โดยฝึกทักษะและความสามารถในรูปแบบของการ บูรณาการการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติการวางแผนการสอน การเลือกยุทธวิธีการสอน การเลือกใช้และผลิตวัสดุช่วยสอน ตลอดจนเทคนิคการแก้ไขปัญหาขณะทำการสอนและตรวจงานของผู้เรียน การวัดและประเมินผลและนำผลมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตลอดจนการบันทึกและการรายงานผลการจัดการเรียนรู้ การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมฝึกสอนและสถานฝึกสอน การปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมของความเป็นครูฝึกสอนกับผู้เรียน และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานฝึกสอน โดยอยู่ภายใต้การควบคุมและแนะนำจากอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง  แก้ไข
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านไลท์กลุ่ม
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- นักศึกษาจะต้องเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กรในสถานประกอบการที่ไปฝึก เช่นการตรงต่อเวลา การมีวินัย การปฎิบัติตนเพื่อเตรียมพร้อมกับอาชีพของนักศึกษา เป็นต้น
- การปฐมนิเทศก่อนฝึกงาน เป็นการทบทวนความรู้ ความเข้าใจ นโยบาย การวางตน  - นักศึกษาสอยในสถานศึกษา โดยมีอาจารย์พี่เลี้ยงในสถานศึกษาการคอยให้คำปรึกษา  - อาจารย์นิเทศก์จากมหาวิทยาลัยไปนิเทศในสถานศึกษา ประมาณ  2 ครั้ง  - การสัมมนาหลังฝึกสอน ประสบการณ์วิชาชีพครู 1 จะมี การสรุปผลการปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การเรียนรู้จากการฝึกสอน  แก้ไข
บันทึกาการสอนที่นักศึกษาบันทึกขณะปฎิบัติฝึกสอน  -การประเมินโดยสถานศึกษา  -การประเมิน โดยอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชา
- ได้รับประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง และสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้เรียนมาและประยุกต์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แก้ไข
- การปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษา โดยได้รับคำแนะนำจากบุคลากรของสถานศึกษา  - มีอาจารย์นิเทศก์  คอยให้คำปรึกษา จึงสามารถพัมนาความรู้ในเชิงบูรณาการได้เป็นอย่างดี  แก้ไข
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน  -ประเมินจากรายงานของนักศึกษา  -ประเมินจากรายงานผลการประเมินของสถานศึกษา  แก้ไข
- มีความรู้ความเข้าใจและนำ ความรู้ไปปฏิบัติงานได้  - มีทักษะในการปฏิบัติงานสามารถแก้ไขปัญหา  แก้ไข
- การปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาเป็นขบวนการที่จะพัฒนาทักษะทางปัญญาได้เป็นอย่างดี  แก้ไข
-ประเมินจากรายงานผลการประเมินของสถานศึกษา
-มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  -พฤติกรรมการปกิบัติงานของนักศึกษาในสถานศึกษา  -มีมนุษยสัมพันธ์กับบุคลากรในสถานศึกษา
-การปฏิบัติงานจริง โดยนักศึกษาสามารถปฏิบัติงานกับบุคลากรในสถานศึกษาได้ รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร 
-ประเมินจากรายงานผลการประเมินของสถานศึกษา  แก้ไข
-สามารถคิดอย่างเป็นระบบ  -มีเหตุมีผลในการคิด  -สามารถสื่อสารด้วยรายงาน -สามารถคิดคำนวณและสรุปผล ออกมาในรูปรายงาน 
-บรรยาย  -มอบหมายงาน ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  -มอบหมายงานให้นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยี  แก้ไข
-ประเมินจากรายงานผลการประเมินของสถานประกอบการ  -ผลประเมินของอาจารย์นิเทศก์  แก้ไข
-การพัฒนาระบบต่างๆของทางร่างกาย  -การพัฒนาบุคลิกภาพ
- สามารถสอนได้หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  แก้ไข
- การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และความสามารถในการตัดสินใจ  แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ ุ6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 30022507 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูจากอาจารย์ประจำวิชา / อาจารย์พี่เลี้ยง / ผู้บริหาร (แบบประเมินผลการสอน สำหรับอาจารย์พี่เลี้ยง/ผู้บริหาร) 30
2 ประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูจากอาจารย์นิเทศ คะแนนจากการนิเทศ (คู่มือการนิเทศการสอน) 30
3 คะแนนจากผลงาน (โครงการสอน หนังสือเรียบเรียงทฤษฏี หนังสือเรียบเรียงปฏิบัติพร้อมคู่มือ วิจัยในชั้นเรียน การจัดสัมมนาปลายภาคเรียน) 30
4 ประเมินจากผู้เรียน (แบบประเมินผลการสอน สำหรับนักศึกษา) 10
1. จำเนียร   ศิลปวานิช ;  หลักและวิธีการสอน    กรุงเทพฯ ;  เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์   พิมพ์ครั้งที่ 3                2541 ,   303  หน้า     
   2. ฉวีวรรณ   รมยานนท์ ;  เอกสารประกอบการสอนการพัฒนาวัสดุช่วยสอนทางวิศวกรรม   ภาควิชา                 ครุศาสตร์อุตสาหกรรม   สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  ม.ป.ป  ,  80  หน้า     
   3 บุญเรือน   พึ่งผลพลู ผศ. ; เอกสารประกอบการสอน การวัดผลและการประเมินผลการศึกษา ตาก:                  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตตาก   2540 ,   181  หน้า     
  4. ประกันคุณภาพการศึกษา สนง. ; เอกสารประกันคุณภาพการศึกษา FM 06  สถาบันเทคโนโลยี              ราชมงคล                   วิทยาเขตตาก  2545 ,  30  หน้า     
    5. ปิยศักดิ์   ตัณฑ์เจริญรัตน์ ; เอกสารประกอบการสอนหลักการอาชีวะและเทคนิคศึกษา  ตาก:   สถาบัน                   เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก  2546 ,  77  หน้า       
  6. วัฒนา   ผลทวี ;  เทคโนโลยีทางการศึกษา   โรงพิมพ์ประสิทธ์การพิมพ์  ตาก  2538 ,  450  หน้า  แก้ไข
ไม่มี
เอกสารหลักสูตรของอาชีวศึกษ
อาจารย์พี่เลี้ยงต้องศึกษาวิธีการการประเมิน และปรึกษากับอาจารย์นิเทศก์เพื่อร่วมกันประเมินผลการสอนของผู้ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู และรวบรวมคะแนนส่งให้กับหัวหน้าสาขาวิชาของผู้ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อการประมวลผลเป็นค่าระดับคะแนนต่อไ
ปรึกษาหารือกับอาจารย์นิเทศ อาจารย์พี่เลี้ยง เพื่อประเมินพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู และประเมินผลปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูของผู้ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูในความดูแลตามที่ระบุไว้ในเอกสารการนิเทศ
การตอบแบบประเมินผล การประชุมสัมมนาหลังการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู อาจารย์พี่เลี้ยงหรือสถานศึกษา     (1)  นิเทศ และประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู ทั้งการสอน และการปฏิบัติงานครูอื่นๆ ในแบบฟอร์มที่กำหนด       (2)  การประชุมสัมมนาอาจารย์พี่เลี้ยงหลังการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อประเมินผลการปฏิบัติและการจัดการการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู  1.3  อาจารย์นิเทศก์      (1)  นิเทศ และประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู ทั้งการสอน และการปฏิบัติงานครูอื่นๆ ในแบบฟอร์มที่กำหนด       (2)  การประชุมสัมมนาอาจารย์พี่เลี้ยงหลังการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อประเมินผลการปฏิบัติและการจัดการการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 
นิเทศติดตามผลและสอบถามจากครูพี่เลี้ยง คะแนนรวมจากการฝึกประสบการณ์ในปีการศึกษานั้น 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ  แก้ไข