จิตรกรรม 1

Painting 1

1.  รู้ถึงหลักการ, กระบวนการ, ขั้นตอนของทฤษฏีและการปฏิบัติงาน
ตามจุดมุ่งหมายของวัสดุอุปกรณ์และเนื้อหาที่กำหนด
                             2.  เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ, ขั้นตอนของทฤษฎีและการปฏิบัติงานตาม
                             จุดมุ่งหมาย
                             3.  แก้ปัญหา, พิจารณาเลือกใช้วิธีการได้เหมาะสมกับวัสดุอุปกรณ์และ
                               เนื้อหา
                             4.  เห็นความสำคัญและมีทัศนคติที่ดีต่อเนื้อหาที่กำหนด
              ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนภาพจากความเข้าใจทางทัศนธาตุ รูปทรง, ระนาบ , พื้นผิว , ปริมาตร น้ำหนัก จากสื่อที่กำหนดให้ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับเนื้อหา
                        ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมพื้นฐาน เกี่ยวกับการเขียนภาพหุ่นนิ่ง ภาพทิวทัศน์ และภาพคนเหมือน เน้นทักษะฝีมือและการแสดงออกรูปแบบเหมือนจริง
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียนจำนวน1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
๑.๑ ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
           1.       มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
          2.        มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
          3.        มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
          4.        เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนแต่ละครั้ง
      -แสดงให้เห็นถึงผลของความรักต่อวิชา   วินัย   ความซื่อสัตย์
                     -แสดงให้เห็นถึงผลของความรับผิดชอบต่อวิชาการ
   -ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน   และนอกชั้นเรียน
   -ประเมินพฤติกรรมจากความรับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ
๒.๑ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

  ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง    ˜ ข้อ ๒  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ      ข้อ ๓  ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )     š ข้อ ๔  ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )  

 
          2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
             มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติงานด้านจิตรกรรมได้อย่างประสบผลสำเร็จ     มีทักษะในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวาดภาพเขียนภาพเหมือนจริง กึ่งเหมือนจริง หรือนามธรรมก็ได้ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อแสดงออกด้านแนวความคิดเฉพาะตน  ค้นหารูปแบบและเทคนิควิธีการที่เหมาะสมต่อการนำเสนอเนื้อหานั้นๆ ทั้งนี้นักศึกษาต้องสามารถวิเคราะห์ผลงานตนเองเพื่อพัฒนาผลงานตามหลักการความงามและการสื่อความหมายอันมีคุณค่าทางทัศนศิลป์
- บรรยายประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ให้เห็นถึงเทคนิค  วิธีการ ,  ผลงานตัวอย่าง , ผลงานศิลปินที่มีชื่อเสียง
        - บรรยายผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ยกตัวอย่างผลงานให้ได้เห็น และเข้าใจในแนวความคิดในการสร้างสรรค์ใหม่ๆในงานจิตรกรรมร่วมสมัย
        - ปฏิบัติงานจริง เพื่อศึกษาค้นคว้าตามขั้นตอนต่างๆวิจารณ์แนะนำเพื่อพัมนาต่อ
        - ประเมินจากความสมบูรณ์ของผลงานจิตรกรรมของแต่ละบุคคล
        - ประเมินจากความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างแนวความคิด เทคนิคที่ใช้ และรูปแบบนำเสนอในผลงานจิตรกรรม ที่มีความงาม ความหมายที่มีคุณค่าทางทัศนศิลป์
        - ประเมินจากความรู้ความสามารถในการบรรยายอธิบายผลงานของตนสอดคล้องกับผลงานที่ปรากฏตามองค์ความรู้ทางทัศนศิลป์สาขาจิตรกรรม
        - ประเมินจากการสอบกลางภาค  และปลายภาค
๓.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
1.1                 พัฒนาความสามารถในความเข้าใจในการสร้างสรรค์ ตามข้อกำหนด เลือกเทคนิคในการเขียนภาพจิตรกรรมได้อย่างเหมาะสมกับแนวความคิดเฉพาะตนมีความเป็นอัตลักษณ์ รู้และเข้าใจในการจัดวางรูปทรงให้สอดคล้องกับ เนื้อหาเรื่องราว ,อารมณ์ ความรู้สึก  ของรูปแบบต่างๆในลักษณะการสร้างสรรค์ได้

   ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ    ข้อ ๒ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )    š  ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้    ˜ ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
 
- นำเสนอผลงานการวาดเส้นในลักษณะเหมือนจริง ที่แสดงให้เห็นถึงเทคนิค วิธีการต่างๆ ของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 - แนะนำหรือสาธิตเทคนิควิธีการต่างๆ  เพื่อให้เกิดทักษะและปัญญา
 - มอบหมายให้ค้นคว้า  ศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 - วิเคราะห์  วิจารณ์ผลงานปฏิบัติของแต่ละบุคคลให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียต่างๆ
- ประเมินผลความก้าวหน้าจากการศึกษาค้นคว้า    เปรียบเทียบกับผลงานปฏิบัติในแต่ละครั้ง
 - ประเมินผลความรู้  ความเข้าใจจากการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
   ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี    š ข้อ ๒ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )         ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )

4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
  - มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
  - มีทักษะในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
  - มีความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน  หรือทำงานเป็นกลุ่ม
 - แสดงให้เห็นถึงผลของความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานร่วมกัน
 - แสดงให้เห็นถึงผลของความรู้ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนในการปฏิบัติงานร่วมกัน
---ประเมินผลจากพฤติกรรมการปฏิบัติงานร่วมกันในชั้นเรียน
      ---ประเมินผลจากความรู้  ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน
---ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
๕.๑  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

   ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )    š ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ๒    ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )

          5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
                  ---ทักษะความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
              ---ทักษะความรู้ ความเข้าใจในเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
---นำเสนอตัวอย่างความรู้  ความชำนาญเกี่ยวกับการเขียนภาพจิตรกรรมแนวใหม่ๆ  รวมทั้งตัวอย่างผลงานของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
            ---นำเสนอตัวอย่างเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
            ---มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ---ประเมินผลความรู้ความเข้าใจจากผลงานที่สร้างสรรค์ตามเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อ   เทคโนโลยีสารสนเทศ
               ---ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
๖.๑  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย  

  ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )   ˜ ข้อ ๒ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )   ˜ ข้อ ๓ มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน

1.  มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
2.   มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้
3.   สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม
4.   สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน
      5.   มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย
 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและจากชิ้นงานมีการใช้เทคนิคทางวาดเส้นสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวความคิด มีความสอดคล้องกัน ตรงตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโครงงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA123 จิตรกรรม 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้จากการศึกษาและการวิเคราะห์จากการทำงานในชั้นเรียน การนำเสนองาน 6/17 30%
2 ความรู้ การสอบกลางภาค 7 15%
3 ความรู้ การสอบปลายภาค 17 35%
4 ความรับผิดชอบ การเข้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
5 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การสังเกตุการทำงานในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
หนังสือวาดเส้นจิตรกรรม ( คณะจิตกรรม , ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร )
            -How to draw the Human Fifure ( Victor Ambrus )
              - Anatomy for the Artist (Jeno Barcsay )
              -An introduction to Drawing ( John Jackson )
              - The Art of Pencil Drawing ( Ernest W. Watson)
              -Life Drawing ( Diana Constance)
 
       
      ศาสตราจารย์ กำจร สุนพงษ์ศรี. หนังสือศิลปะสมัยใหม่ .สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2554
      ชลูด นิ่มเสมอ.องค์ประกอบของศิลปะ.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,2534
www.fineart-magazine.com
www.American painting
www. Art Now
-สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อจบเนื้อหานั้น
 -นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์
 -ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาคหรือสาขาวิชา
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนการปฏิบัติ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติที่หลากหลาย