การเงินธุรกิจ

Business Finance

1. นักศึกษาเรียนเรื่องการเงินธุรกิจแล้วรู้และเข้าใจความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางการเงิน
2. นักศึกษาจะต้องเข้าใจถึงการวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนและผลการ เปลี่ยนแปลง
3. อธิบายโครงสร้างทางการเงิน เข้าใจการวางแผนทางการเงินและการพยากรณ์ทางการเงินได้
4. เข้าใจการบริหารเงินทุนหมุนเวียนและบริหารเงินสด การบริหารลูกหนี้ และการบริหาร สินค้าคงเหลือ
5. อธิบายมูลค่าเงินตามเวลา และงบลงทุน
6. เข้าใจการจัดหาเงินทุน
เพื่อจัดทารายละเอียดของรายวิชาให้สอดคล้องตามรูปแบบของ มคอ. 3 เพื่อนาไปสู่ ความสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่ สกอ. กาหนด
ศึกษาความหมายและความสาคัญของการเงินธุรกิจ ขอบเขต บทบาท และหน้าที่ ของฝ่ายการเงิน รูปแบบของธุรกิจและการภาษีอากร การวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการวางแผน ทางการเงิน หลักเกณฑ์การบริหารทุนหมุนเวียน และงบลงทุน มูลค่าของเงิน โครงสร้างทางการเงิน และวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ
อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาหน้าชั้นเรียน จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็น รายบุคคลต่อนักศึกษาสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง /สัปดาห์ โดยระบุเวลา ไว้ในตารางสอน และแจ้งนักศึกษา ในชั่วโมงแรกของสัปดาห์
1.1.1) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์ เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น พร้อมทั้งปฎิบัติต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
1.1.2) มีความเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อ ตนเองและสังคม
1.1.3) ตระหนักในความพอเพียง พอประมาณในการดาเนินชีวิต 1.1.4) เคารพกฎระเบียบ กติกา และข้อบังคับต่าง ๆ ของสถาบัน องค์กรและสังคม 1.1.5) ตระหนักในคุณค่าของความจริง ความดี ความงาม และความมีเหตุผล
1.2.1) ปฏิบัติกิจกรรมตามสถานการณ์ เกม และบทบาทสมมุติแล้วอภิปรายถึง แนวคิด ข้อคิดที่สร้างความเข้าใจชีวิต เข้าใจคน และเข้าใจธรรมชาติ และการปฏิบัติต่อกันอย่าง เหมาะสมและสันติ
1.2.2) อภิปรายกลุ่มทั้งกลุ่มเฉพาะ และกลุ่มใหญ่ 1.2.3) กาหนดให้นักศึกษาหากรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องแล้วนามาวิเคราะห์ตาม
ศาสตร์และทฤษฎีที่เรียนพร้อมกับแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1) พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทางานที่ได้รับมอบหมายอย่าง ถูกต้องและตรงเวลา
1.3.2) พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้อง เหมาะสม และสร้างสรรค์ 1.3.3) ประเมินผลการนาเสนอกรณีศึกษาที่มอบหมาย
2.1.1) มีความรู้ ความเข้าใจในความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทางการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนและผลการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างทางการเงิน การวางแผนทางการเงินและการพยากรณ์ทางการเงิน
2.1.2) มีความรู้ ความเข้าใจ ในการบริหารเงินทุนหมุนเวียนและบริหารเงินสด การ บริหารลูกหนี้ และการบริหารสินค้าคงเหลือ มูลค่าเงินตามเวลา งบลงทุน และการจัดหาเงินทุน
2.2.1) ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสาร สองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ การสอน แบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
2.2.2) อภิปรายหลังการทากิจกรรม เกมส์ หรือสถานการณ์จาลอง 2.2.3) การทางานกลุ่มและนาเสนอรายงานจากการค้นคว้า 2.2.4) การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน 2.2.5) การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
2.3.1) การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.3.2) ประเมินผลจากการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
3.3.1) ศึกษาและเรียนรู้การเงินธุรกิจขั้นพื้นฐานเพิ่มมากขึ้น 3.3.2) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อใช้ในการบริหารทางการเงินธุรกิจได้
3.2.1) การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning: PBL)3.2.2) วิเคราะห์กรณีศึกษาด้วยกระบวนการคิดเชิงระบบตามทฤษฎีต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง 3.2.3) อภิปรายกลุ่ม
3.3.1) ประเมินจากการตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคล
และกลุ่ม 3.3.2) รายงานกลุ่ม
3.3.3) การสอบย่อย การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
4.1.1) ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2) ทักษะความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม
4.1.3) ทักษะการเรียนด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับ มอบหมาย ครบถ้วนทันเวลา
4.1.4) ทักษะในการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สถานภาพในสังคมระดับต่างๆ
4.2.1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2) มอบหมายงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3) วิเคราะห์เหตุการณ์บ้านเมือง สังคม
4.3.1) นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด เกี่ยวกับการ วิเคราะห์กรณีศึกษา ข่าว เหตุการณ์บ้านเมืองและสังคม
4.3.2) ประเมินผลการรายงานที่นักศึกษานาเสนอ
4.3.3) ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่ม
5.1.1)พัฒนาทักษะการวิเคราะหข์้อมูลจากกรณีศึกษาข่าวเหตุการณ์บ้านเมือง
5.1.2) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การอ่าน การแปล โดยจัดทา เป็นรายงานและนาเสนอในชั้นเรียน
5.1.3) พัฒนาทักษะด้านการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.2.1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อม กับนาเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
5.2.2) นาเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนาเสนอในรูปแบบ เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังการนาเสนอผล การศึกษาของเพื่อน
5.3.2) ประเมินจากรายงานการเขียน และการนาเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2.1) ปฏิบัติกิจกรรมตามสถานการณ์ เกม และบทบาทสมมุติแล้วอภิปรายถึง แนวคิด ข้อคิดที่สร้างความเข้าใจชีวิต เข้าใจคน และเข้าใจธรรมชาติ และการปฏิบัติต่อกันอย่าง เหมาะสมและสันติ 1.2.2) อภิปรายกลุ่มทั้งกลุ่มเฉพาะ และกลุ่มใหญ่ 1.2.3) กาหนดให้นักศึกษาหากรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องแล้วนามาวิเคราะห์ตาม ศาสตร์และทฤษฎีที่เรียนพร้อมกับแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 2.2.1) ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสาร สองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ การสอน แบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต 2.2.2) อภิปรายหลังการทากิจกรรม เกมส์ หรือสถานการณ์จาลอง 2.2.3) การทางานกลุ่มและนาเสนอรายงานจากการค้นคว้า 2.2.4) การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน 2.2.5) การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning) 3.2.1) การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning: PBL) 3.2.2) วิเคราะห์กรณีศึกษาด้วยกระบวนการคิดเชิงระบบตามทฤษฎีต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง 3.2.3) อภิปรายกลุ่ม 4.2.1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2) มอบหมายงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.3) วิเคราะห์เหตุการณ์บ้านเมือง สังคม 5.2.1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อม กับนาเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง 5.2.2) นาเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนาเสนอในรูปแบบ
1 BBACC107 การเงินธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 3.3.1 4.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 30% 30%
2 2.3.2 3.3.2 4.3.2 4.3.3 5.3.1 5.3.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าแล้วนาเสนอ การทางานกลุ่ม / เดี่ยว การอภิปรายกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.2 2.2 3.2 4.2 5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เพชรี ขุมทรัพย์. (2544). หลักการบริหารการเงิน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. _____________. (2534) วิเคราะห์งบการเงิน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เริงรัก จาปาเงิน. (2543). การจัดการการเงิน. กรุงเทพฯ : บริษัทบุ้คเน็ค. วราณี เวสสุนทรเทพ และรัฏฐดา ศรีมุข. (2542). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. วันดา พัฒนกิจการุณ. (2541). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิไล นครสุวรรณ และคณะ. (2533). การบัญชี 1. กรุงเทพฯ : บริษัทไนน์ (1984). วีระยุทธ เศรษฐเสถียร. (2542). การเงินธุรกิจ. เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.สุรศักดิ์ นานานุกูล. (2535). การบริหารการเงิน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย.(2545).การบริหารการเงิน.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.เอกสารอ่านประกอบ/เว็บไซต์ Basu Sudipta,Prakash Rachana and Waymire Gregory.(2004).The Use of Accounting Numbers by Information Intermediaries in The Pre-SEC Era.Emory University. EugeneF.,Brigham.,MichaleC.,Ehrhart.Financial Management:Theory and Practice. United State of America:South - Western.
- หนังสือทุกเล่มที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์งบการเงิน การเงินธุรกิจ การบริหารการเงินและการ จัดการทางการเงิน
3.1เอกสาร
เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์, ผศ.ผู้แปล.(2551).วิเคราะห์ เจาะลึก อัตราส่วนทางการเงิน.กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น.
โอฬาร กลีบพุฒ.ผู้แปล.(2545).อ่านงบการเงินแบบไม่จบบัญชี.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น.Monthly Review จัดทาโดย : ฝ่ายสื่อสิ่งพิมพ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อมูลสถิติประจาปี 2545-2551(Fact book 2002-2008)จัดทาโดย: ฝ่ายสื่อสิ่งพิมพ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย วารสารตลาดหลักทรัพย์ จัดทาโดย : ฝ่ายสื่อสิ่งพิมพ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
3.2เว็บไซต์
http://www.set.or.th/ http://www.tsi-thailand.org/ http://www.bot.or.th/
 
1.1 การสนทนากลุ่มและการปฏิบัติงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
1.2 การประเมินจากแบบฟอร์มการประเมินการเรียนการสอน
 
2.1 การสังเกต 2.2 การสนทนากลุ่มระห่างผู้สอนและนักศึกษา 2.3 การประเมินจากแบบฟอร์มการประเมินการเรียนโดยนักศึกษา(อินเตอร์เน็ตของงาน
การจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้- ฝึกให้เด็กนักศึกษา ทาแบบฝึกหัดและแลกเปลี่ยนกัน เรียนรู้ระหว่างกลุ่ม - ให้มีการออกมาทาหน้าชั้นเรียน แลกเปลียนเรียนรู้ - มีการถามตอบ สรุปในเวลา ท้ายสุดคาบเรียนถึงสิ่งที่นักศึกษาได้ และ ต้องการเพิ่มเติม
คณะกรรมการในสาขาวิชาเป็นผู้ทวนสอบ ด้วยการตรวจสอบคุณภาพผลงานของนักศึกษา วิธีการประเมินแบบต่าง ๆ และผลจากการประเมิน
นำผลการประเมินและการทวนสอบมาปรับปรุง มคอ.3 และประมวลการสอนทุกปี