ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

Industrial Safety

ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของการเกิดอุบัติเหตุและการระวังป้องกัน  หลักการของความปลอดภัยและการควบคุมสภาวะแวดล้อมโรงงาน  สาเหตุและการป้องกันอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรม การบริหารความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม  ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเครื่องจักรกล  ความปลอดภัยในการบำรุงรักษาและงานเชื่อมโลหะ  ความปลอดภัยเครื่องจักรต้นกำลัง  ความปลอดภัยในระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์  ความปลอดภัยในการเก็บเคลื่อนย้ายวัสดุและอันตรายตลอดจนกฎหมายและมาตรฐานความปลอดภัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของการเกิดอุบัติเหตุและการระวังป้องกัน  หลักการของความปลอดภัยและการควบคุมสภาวะแวดล้อมโรงงาน  สาเหตุและการป้องกันอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรม การบริหารความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม  ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเครื่องจักรกล  ความปลอดภัยในการบำรุงรักษาและงานเชื่อมโลหะ  ความปลอดภัยเครื่องจักรต้นกำลัง  ความปลอดภัยในระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์  ความปลอดภัยในการเก็บเคลื่อนย้ายวัสดุและอันตรายตลอดจนกฎหมายและมาตรฐานความปลอดภัย
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์สาขาฯ
-  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม  สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
                1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
                1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
                1.1.3  มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
                1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
                1.2.2  สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
                1.2.3  เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
                1.2.4  ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
                1.2.5  อภิปรายกลุ่มและการร่วมกิจกรรม
                1.2.6  กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
                1.2.7  เน้นเรื่องแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
                1.2.8  ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
                1.2.9  ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพและตระหนักถึงความสำคัญของความปลอดภัย
1.3.1  ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
                1.3.2  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
                1.3.3  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                1.3.4  ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
                1.3.5  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการเกิดอุบัติเหตุและการระวังป้องกัน หลักการของความปลอดภัยและการควบคุมสภาวะแวดล้อมโรงงาน สาเหตุและการป้องกันอุบัติเหตุภายในโรงงงานอุตสาหกรรม  การบริหารความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเครื่องจักรกล ความปลอดภัยในงานบำรุงรักษาและงานเชื่อมโลหะ ความปลอดภัยในเครื่องจักรต้นกำลัง ความปลอดภัยในระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ความปลอดภัยในการเก็บ เคลื่อนย้ายวัสดุและวัตถุอันตราย ตลอดจนกฎหมายและมาตรฐานความปลอดภัย
บรรยาย  อภิปราย การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
                2.3.1  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ เพื่อการวิเคราะห์
                2.3.2  ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
                3.2.1  การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
                3.2.2  การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
                3.2.3  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
                3.3.1  ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการและการวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาความปลอดภัยในในงานอุตสาหกรรม
                3.3.2  ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย/การบ้าน/ทดสอบย่อย
                3.3.3  วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน การร่วมกิจกรรม
                3.3.4  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
                4.1.1  พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                4.1.2  พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
                4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
                4.2.1  มอบหมายงานรายกลุ่ม เช่น ความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อไอน้ำ ความปลอดภัยในงานเชื่อมโลหะ การซ่อมบำรุงอย่างปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย สภาวะแวดล้อมในการทำงานและการออกแบบระบบระบายอากาศ งานซ่อมบำรุงกับความปลอดภัย สภาพแวดล้อมและการวางผังโรงงานที่ปลอดภัย ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร CNC การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรกล ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า
                4.2.2  การนำเสนอรายงานและการร่วมกิจกรรม
                4.3.1  ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
                4.3.2  ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
                4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง การตอบคำถามจากเนื้อรายงานและการประเมินจากนักศึกษากลุ่มอื่นแบบมีส่วนร่วม
                5.1.1  ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
                5.1.2  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
                5.1.3  พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของตัวอย่างของลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ วิธีป้องกัน อุปกรณ์ความปลอดภัย
                5.1.4  พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ
                5.1.5  พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
                5.1.6  พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                5.1.7  พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาได้
                5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
                5.2.2  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 70%
2 การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
          1.1  วิฑูรย์ สิมะโชคดี และ วีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 27. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2553.
          1.2  Handley, W. Industrial Safety Handbook. Great Britain. McGraw-Hill,1977.
          1.3 Ralph, K. and Magid, J. Industrial Hazards and Safety Handbook. London. Newness, 1979.
          1.4  Blake, R.P. Industrial Safety. 3 rd. ed. New York,Prentice-Hall,1963.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
          2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
          3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          4.1  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ