ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์

Computer Aided Design and Drawing

1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานเขียนแบบเครื่องกล           2. เพื่อให้สามารถเขียนภาพแยกชิ้นส่วน และภาพประกอบชิ้นส่วนเครื่องกลการกำหนดขนาด สัญลักษณ์ จัดทำตารางรายการวัสดุและเขียนภาพการนำเสนองาน       3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการท างานที่มีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม
 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้านการออกแบบ เขียนแบบ  การน าเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น AutoCAD , Solid Works  หรือโปรแกรมอื่น ๆ 
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้าน การออกแบบ เขียนแบบ  การนำเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น AutoCAD , Solid Works  หรือโปรแกรมอื่น ๆ 
-
1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทาง จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานในโรงงาน โดยมี วัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจาก มิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2 อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงาน จริง
3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องหรือกำหนดบทบาทสมมุติ 
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และ ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้ง ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติใน เนื้อหาที่ศึกษา  
 2 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  3 สามารถวัดและประเมินผล ด้านการเรียนรู้    
บรรยาย  อภิปรายการทำงานกลุ่มทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติและมอบหมายให้ค้นหา บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องฝึกปฏิบัติงานจริงตามหน่วยเรียน โดยนำมาสรุปและนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. สอบกลางภาคสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2  ประเมินจากการนำเสนองานในการฝึกปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยเรียน
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงาน ในพื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละ หน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
2   อภิปรายกลุ่ม 
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2 วัดผลจากการประเมินโครงการนำเสนอผลงาน
3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไข ปัญหา
1  มีมนุษยสัมพันธ์และ มารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถท างานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่าง เหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  
3   การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและ เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม  
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ 
  2.  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 
3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. ฝึกปฏิบัติภาคสนาม ลงมือ ปฏิบัติและทดสอบเทคนิคการ ทำงานจริง จากสื่อสนับสนุนการ เรียนการสอนตามหัวข้อบทเรีย
1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 2 2 3 3 2
1 24017301 ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk AutoCAD 2014 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2008  ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),  
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2012 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2015 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor(Profrestional) 2012  ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 
-
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
3.1   เพิ่มแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาที่ทันต่อเทคโนโลยี และปัญหาที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ