กายวิภาค

Anatomy

          1.  รู้จักชื่อกระดูกและกล้ามเนื้อที่สำคัญๆ ในร่างกายของคนและสัตว์
          2.  เข้าใจระบบหน้าที่การทำงานของกระดูกและกล้ามเนื้อที่สำคัญในร่างกายคนและสัตว์
          3.  เข้าใจสัดส่วนร่างกายของมนุษย์ในเพศและวัยต่างๆ
          4.  เข้าใจหลักการเขียนภาพคนและสัตว์ในลักษณะท่าทางต่างๆ ได้ถูกต้องตามหลักวิชากายวิภาค
          5.  เห็นความสำคัญในการเขียนภาพคนและสัตว์ให้ถูกต้องตามหลักวิชากายวิภาค สามารถนำไปใช้
----------------------------------------------------------
ศึกษากระดูกและกล้ามเนื้อของคนและสัตว์  สัดส่วนและรูปลักษณะร่างกายของคนและสัตว์  ทดลองปฏิบัติการเขียนส่วนต่างๆของคนและสัตว์ในกิริยาท่าทางต่างๆ   สามารถนำไปใช้สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาแนะนำและตอบข้อสักถามของนักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ข้อ 1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ข้อ 2  ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ข้อ 4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
               -  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานที่เกี่ยวกับกายวิภาคที่สำคัญทั้งในและต่างประเทศ
               -  แนะนำให้ศึกษาและพัฒนานำเอาข้อดีของผลงานเพื่อนำมาปรับปรุงในผลงานให้ดีขึ้น
               -  ต้องไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตน
               -  นำผลงานของผู้อื่นมาศึกษาปรับปรุงต้องอ้างอิงถึงทุกครั้ง
-  พฤติกรรมการเข้าเรียน และตั้งใจฟังการบรรยายด้วยความตั้งใจ
-  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำทดลองปฏิบัติการเขียนรูป อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-  ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
ข้อ 1  มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
ข้อ 2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
ข้อ 3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายพร้อมนำเสนอเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับระบบโครงสร้างทางกายวิภาคของคนและสัตว์ด้วยการฉายภาพผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์และเปรียบเทียบกับโครงกระดูกจริงของคนและสัตว์หรือรูปปั้นกล้ามเนื้อประกอบภาพถ่ายเพื่อความเข้าใจให้มากขึ้น แนะนำให้ใช้เวลาว่างฝึกเขียนรูปส่วนต่างๆที่เรียนมาไม่ว่าจะเป็นกระดูกหรือกล้ามเนื้อของคนและสัตว์  ให้ทดลองเขียนภาพของกระดูกและกล้ามเนื้อในบางครั้งเมื่อจบบทเพื่อความเข้าใจและนำไปใช้กับงานทัศนศิลป์ได้อย่างถูกต้อง
-  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
-  ประเมินจากผลงานการเขียนภาพตามที่มอบหมาย 
ข้อ 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างโครงสร้าง สัดส่วนและโครงกระดูกหรือกล้ามเนื้อของคนและสัตว์ หน้าที่ รูปร่างและให้ทดลองปฏิบัติการเขียนรูปกระดูกหรือกล้ามเนื้อตามแบบที่กำหนด        ให้คำแนะนำแก้ไขปรับปรุงผลงานให้เหมือนแบบมากที่สุด    แนะนำให้ใช้เวลาว่างดู  ศึกษา  และเขียนภาพส่วนต่างๆตามที่เรียนมาเพื่อความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
             - สอบกลางภาคและปลายภาค  ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
             - วัดผลจากผลงานที่ทดลองปฏิบัติการเขียนรูปส่วนต่างๆของร่างกาย
             - สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
ข้อ 1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
ข้อ 2 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
- กำหนดให้แบ่งกลุ่มและรับผิดชอบในการรักษาหุ่นที่นำมาเป็นแบบในการทดลองเขียนรูป
- มอบหมายให้แต่ละกลุ่มที่นำหุ่นมาเป็นแบบและนำกลับไปเก็บรักษาอย่างดี
- ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยการวิจารณ์ผลงานที่ได้ฝึกปฏิบัติ
- ประเมินจากความร่วมมือในการแบ่งงานกันอย่างมีระบบ และทำงานเป็นทีม
-  ประเมินจากการนำเสนอผลงานได้ตามกำหนด   
ข้อ 1 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 2 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
-  มอบหมายงานเพื่อศึกษาการสร้างสรรค์ผลงานรูปคนและสัตว์ของศิลปินดังเพื่อวิเคราะห์และนำเสนอเป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษา
-  นำเสนอผลงานในรูปแบบที่ต้องการตามความเหมาะสม
-  ประเมินจากผลงาน และงานที่เสร็จสมบูรณ์
-  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
ข้อ 1 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
ข้อ 2 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 4 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ 5 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีฝึกปฏิบัติ ให้เข้าใจในเรื่องของร่างกาย กระดูกและกล้ามเนื้อของมนุษย์และสัตว์
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 41000101 กายวิภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - - ศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอผลงาน ,การทำงานกลุ่มและการวิจารณ์ผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย -งานสรุป ตลอดภาคการศึกษา 20% 20%
2 - -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค 9,7 25% 25%
3 - ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
กายวิภาคสำหรับนักศึกษาศิลปะ,กายวิภาคสำหรับผู้ศึกษาศิลปะ,กายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาของมนุษย์,กายวิภาคศาสตร์ระบบเคลื่อนไหว, Human Anatomy for the Artis, Artistic Anatomy,An Atlas of Anatomy for Artists.
-
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
   2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบความก้าวหน้าและความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยผลงานสร้างสรรค์เพื่อประกอบการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
4.1   การให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2     มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบโครงงานงาน วิธีการให้คะแนนโครงงานผลงานที่ปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4