เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร

Information Technology for Agriculture

1. รู้และเข้าใจเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตรเบื้องต้น 
2. อธิบายเทคนิคและกระบวนทางเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตได้ 
3. สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้งานด้านรเกษตร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตรเบื้องต้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวข้องกับความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร แหล่งข้อมูลและการสืบค้นข่าวสารสนเทศทางการเกษตร และข้อมูลภูมิสารสนเทศทางการเกษตร (GIS) รวมทั้งการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
Study and practice on basic knowledge of information technology communication and data searching in agricultural information and geographic information system (GIS) including application of information technology for agriculture.
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้  
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต  
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม  
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ  
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม  
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ ร่วมทั้งนำเว็บไซต์ยอดนิยมที่ได้รับความสนใจมาเป็นกรณีศึกษา 
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม/ทำงานเดี่ยว/กลุ่ม หรือ ทำเว็บไซต์ส่วนตัวส่งเป็นชิ้นงาน  
1.2.3 นำเสนองานระบบเว็บไซต์ที่สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้เพื่อเป็นชิ้นงาน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาจากโปรแกรมที่นักศึกษาเขียนตามการใช้งานจริง  
1.3.4 ประเมินผลงานการพัฒนาเว็บไซต์หน้าห้องเรียนและให้สมาชิกสอบถามและแนะนำ
- มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบายได้ถึงหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์  
- สามารถวิเคราะห์ความต้องการ และแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์  
- สามารถออกแบบ และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์  
- สามารถศึกษา ค้นคว้า ติดตามการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และนาไปพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง  
- สามารถบูรณาการความรู้ด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในการทางานร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีอย่างครบถ้วน  
- เน้นการเรียนรู้และการแก้ปัญหาด้วยโครงงานรายวิชา  
- เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
- การทดสอบย่อย  
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  
- ประเมินจากรายงาน หรือโครงงานรายวิชาที่นักศึกษาจัดทา  
- ประเมินจากการนาเสนอรายงาน และการซักถามของนักศึกษาในชั้นเรียน  
- สังเกตพฤติกรรมและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาของนักศึกษาจากการถาม
- ตอบของนักศึกษาในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า
การมอบหมายให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด โครงงานย่อย และนำเสนอผลการดำเนินงาน
จากการนำเสนอรายงาน การซักถาม การตอบคำถาม
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ  
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน  
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม  
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม  
4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การทำใบงาน และวิเคราะห์โจทย์นำมาเขียนโปรแกรมได้ ทั้งตัวอย่างในชีวิตประจำวันนำมาเขียนเป็นโปรแกรมได้  
4.2.3 การนำเสนอผลงานโปรแกรม
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา  
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์  
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม  
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสร้างโปรแกรมตามแนวคิดมาเป็นรูปแบบผลงานซอฟต์แวร์  และทำรายงานรูปเล่มรวบรวมผลงานโดยเน้นการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์  
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน ผลงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีนำเสนอตามผลงานในลักษณะงานของนักศึกษา  
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  วิธีการตอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คะแนนเข้าห้องบรรยาย 5%
2 คะแนนสอบในห้องปฏิบัติ 35%
3 สอบกลางภาค 30%
4 สอบปลายภาค 30%
รศ.ดร. ไพบูลย์ เกียรติโกมล, ผศ.ดร. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น, 2008
สุพรรษา ยวงทอง, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เเละเทคโนโลยีสารสนเทศ, โปรวิชั่น,บจก., 2015
ดร. กอบเกียรติ สระอุบล, พัฒนา IoT บนแพลตฟอร์ม Arduino และ Raspberry Pi, อินเตอร์มีเดีย, 2018