ภาษาศาสตร์สังคม

Sociolinguistics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการสำคัญของภาษาศาสตร์ เข้าใจองค์ประกอบทางสังคมและผลกระทบที่มีต่อการใช้ภาษา เพื่อประยุกต์ใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับบริบท
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้หลักการสำคัญในภาษาศาสตร์ เข้าใจองค์ประกอบของภาษาศาสตร์สังคม รวมถึงผลกระทบที่มีต่อการใช้ภาษาและการสื่อสาร เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การเรียนรู้หลักการสำคัญในภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์องค์ประกอบทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับสังคมที่มีผลกระทบต่อการใช้ภาษาและรูปแบบการสื่อสารอื่น ๆ การประยุกต์ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ในสังคม
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
สอดแทรกการใช้ภาษาในสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รู้จักปรับใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
1.1.1 [ ] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 [l] มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 [ ] มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 [O] เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- อธิบายรายวิชา รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผลและให้นักศึกษาอภิปราย
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- แสดงบทบาทสมมติ
- เข้าเรียนตรงเวลา
- ส่งงานตามที่กำหนด
- มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
- เก็บคะแนนย่อย
- สอบทฤษฎีกลางภาค ปลายภาค
วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันมีเนื้อหาอยู่ทั้งหมด6 หน่วยด้วยกันซึ่งเนื้อหาดังกล่าวได้ให้ความสำคัญกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนาทักษะทางภาษา นอกจากนี้ยังรวมถึงการใช้ภาษาในการสื่อสารเป็นหลักเพื่อช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับนักศึกษาในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
2.1.1 [l]มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาสา
2.1.2 [ ] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 [O] สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง  การทำงานกลุ่ม การนำเสนอผลการทำงาน
- ทดสอบย่อยเป็นรายหน่วย
- การนำเสนอในชั้นเรียน
- งานมอบหมาย
3.1.1 [l]มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
3.1.2 [O] มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.3 [O] มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม
- อธิบายรายวิชา รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผล และให้นักศึกษาอภิปรายเสนอแนะประเด็น
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- แสดงบทบาทสมมติ
- การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
- สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
4.1.1 [O] มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 [ ] มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 [ ] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 [ ] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- กำหนดปฏิทินเวลานำเสนอ
- ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วน
- นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน
- สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของผู้เรียน
- แบบฝึกหัด
- การตรงต่อเวลาและการส่งงาน
5.1.1 [ ] เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 [ ] สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 [ ]ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรม
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
1. ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้นศ.ทบทวนความเข้าใจตามกิจกรรมที่กำหนด
2. ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3. ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา งานวิจัย ตัวอย่างต่าง ๆ ทางด้านภาษาศาสตร์สังคม
ประเมินจากผลงานและพฤติกรรมของนักศึกษา ได้แก่
1. การทดสอบความรู้ความเข้าใจเชิงทฤษฎีในการสอบกลางภาคและปลายภาค
2. ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3. การวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่าง และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค ทำข้อสอบประเมินความรู้ บทเรียนที่ 1-5 9 35%
2 สอบปลายภาค ทำข้อสอบประเมินความรู้ บทเรียนที่ 6-10 17 35%
3 การฝึกปฏิบัติ / กิจกรรม แบบฝึกปฏิบัติในบทเรียน งานมอบหมาย การส่งงาน การทำงานมอบหมาย การทำกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 จิตพิสัย ความสม่ำเสมอของการเข้าเรียน เจตคติที่ดีต่อรายวิชา ตลอดภาคการศึกษา 10%
Holmes, J. (2013). An introduction to sociolinguistics. 4th edition, USA: Routledge.
Beltran, R.C. (2004). An introduction to sociolinguistics. England: UNED.
Cheshire, J. (1991). English around the world: sociolinguistics perspectives.
Cambridge, U.K.: Cambridge University Press.
Wardhaugh, R. (2010). An introduction to sociolinguistics. 6thedition, Singapore:
Widely-Blackwell.
Sociolinguistics. Available at https://en.wikipedia.org/wiki/Sociolinguistics
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้
- อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- สังเกตจาการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
- ประเมินจากผลการนำเสนอ
- ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าหรือมีการพัฒนาที่ผิดปกติแก้โดยการขอพบนักศึกษา แจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขา/ คณะ