วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชไร่

Postharvest Technology of Field Crops

1.เข้าใจความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว และการสูญเสียผลิตผลพืชไร่
          2. เข้าใจโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของผลิตผลพืชไร่
          3. เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลพืชไร่
          4. เข้าใจดัชนี วิธีการเก็บเกี่ยว และวิธีปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลพืชไร่
          5. เข้าใจปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาผลิตผลพืชไร่
          6. เข้าใจวิธีวิธีป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลพืชไร่
          7. เข้าใจคุณภาพและมาตรฐาน ตลอดจนวิธีตรวจสอบคุณภาพผลิตผลพืชไร่
          8. สามารถนำเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวไปใช้ และสามารถจัดการต่อผลิตผลภายหลังการเก็บเกี่ยวได้อย่างถูกต้อง
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสภาวะการณ์ตลาดของธัญพืชที่สำคัญและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างของผลิตผลพืชไร่ เข้าใจความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว และ การสูญเสียผลิตผล โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของผลิตผลพืชไร่ การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาและและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา ดัชนีและวิธีการเก็บเกี่ยว วิธีปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว วิธีป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว และ คุณภาพ มาตรฐาน ตลอดจนวิธีตรวจสอบคุณภาพ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
แนะนำในห้องเรียน
อธิบาย ความหมาย ข้อดี ข้อเสีย
แบ่งกลุ่มระดมความคิดแนะนำและยกตัวอย่าง
บอก ระเบียบการเข้าชั้นเรียน
แนะนำในห้องเรียน
มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ผู้อาวุโส
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
สอบข้อเขียน
นำเสนอในชั้นเรียนผลการเข้าชั้นเรียน
การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา และการทำงานร่วมกับผู้อื่นสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ
ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนใน
1.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ๆ นอกเวลาเรียน
2.อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน
3.แบ่งกลุ่มค้นคว้าข้อมูลและรายงาน
 
1. สอบย่อย สอบข้อเขียน ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
2.งานที่มอบหมายรายงานผลงานที่นำเสนอ
3. สอบข้อเขียนสอบย่อยข้อเสนอความคิดของนักศึกษาและนำเสนอในชั้นเรียนงานที่มอบหมาย และนำเสนอเป็นกลุ่ม
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1.ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
2.การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา
1.ทดสอบย่อยวิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการ
2.สอบย่อยประเมินระบบการทำโครงงานและการนำเสนอโครงงาน
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามรถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.แนะนำในห้องเรียนและยกตัวอย่าง
2.มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
3.มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1.สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
2.ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
3.ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.สอบข้อเขียนข้อเสนอความคิดของนักศึกษา
(1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน e-Learning และทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2.มีความสามารถในการสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
1.นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2.การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ที่เหมาะสม
3.สอบย่อยสอบข้อเขียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21022322 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชไร่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1 3.1,4.1,5.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.1,2.1 3.1,4.1,5.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 1.1,2.1 3.1,4.1,5.1 การตรวจแปลงปฎิบัติงานที่มอบหมาย 4-8,10-15 30%
4 1.1,2.1,3.1 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 5%
5 1.1,2.1,3.1 การสอบกลางภาค 8 22%
6 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10%
7 1.1,2.1,3.1 การสอบปลายภาค 16 23%
      เกรียงไกร เมฆวนิชย์ .2525. เครื่องมือเก็บเกี่ยวข้าว. น.166-187. การสัมมนาเรื่องวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของ ข้าว พืชไร่ และ พืชสวน. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2524. ณ. สถาบันประมงน้ำจืด และตึกศูนย์วิจัยการอารักขาข้าว เกษตรกลาง บางเขน.
 
     จริงแท้ ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ 396 น.
 
      จริงแท้ ศิริพานิช  และ ธีรนุช  ร่มโพธิ์ภักดิ์. 2543. การจัดการหลังเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ โครงการเกษตรกู้ชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. โรงพิมพ์ศูนย์สงเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.กำแพงแสน นครปฐม. 89 น.
 
     ดนัย บุณยเกียรติ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2535. การปฎิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนส์โตร์ กรุงเทพ 146 น.
 
   พิศมัย ศรีสุขประเสริฐ โสภณ สินธุประมา และ อาวุธ ณ. ลำปาง. 2525.  วิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของพืชไร่บางชนิด. น.12-17. การสัมมนาเรื่องวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของ ข้าว พืชไร่ และ พืชสวน. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2524. ณ. สถาบันประมงน้ำจืด และตึกศูนย์วิจัยการอารักขาข้าว เกษตรกลาง บางเขน.
 
    ไมตรี ทองสว่าง. 2525. ปัญหาและการพัฒนาทางวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว. น.111-137. การสัมมนาเรื่องวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของ ข้าว พืชไร่ และ พืชสวน. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2524. ณ. สถาบันประมงน้ำจืด และตึกศูนย์วิจัยการอารักขาข้าว เกษตรกลาง บางเขน.
 
    วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2542. เทคโนโยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์. กรุงเทพ 276 น.
 
    วิชิต เกรียงยะกุล. 2530. วิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของพืชไร่. สำนักพิมพ์วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา  เทเวศร์ กรุงเทพ. 52 น.
 
   สายชล เกตุษา.2528. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.กำแพงแสน นครปฐม. 364 น.
 
   สุนันทา เวสอุรัย และ สง่า  ดวงรัตน์. 2525. ประเมินผลการสูญเสียของข้าวโพดหลังเก็บเกี่ยวในไร่
กสิกร. น.18-47.การสัมมนาเรื่องวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของ ข้าว พืชไร่ และ พืชสวน. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2524. ณ. สถาบันประมงน้ำจืด และตึกศูนย์วิจัยการอารักขาข้าว เกษตรกลาง บางเขน.
1.กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2542. เอกสารประมวลบทความทางวิชาการเกษตร ปี 2538-2541. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 361 น.
          2.กองโครงการ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2534. รายงานผลการดำเนินงาน โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเกษตร ปี 2528-2533. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 167 น.
บทความเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการผลิตพืชทดแทนพลังงาน จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยคณะ จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
คณะกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา  คณะกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งคณะเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
คณะมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของคณะ ภายในรอบเวลาหลักสูตร
คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของคณะ การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าคณะ เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป