เทคโนโลยีการผลิตพืชทดแทนพลังงาน

Renewable Energy Plant Production Technology

1.1  เพื่อให้รู้และเข้าใจพื้นฐานและเทคโนโลยีการผลิตพืชทดแทนพลังงาน
1.2  มีทักษะเกี่ยวกับการผลิตพืชทดแทนพลังงาน เช่น ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวฟ่างหวาน  สบู่ดำ   ฯลฯ
1.3  เข้าใจกระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเป็นพลังงาน
1.4  เห็นความสำคัญของการผลิตพืชทดแทนพลังงาน
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตพืชทดแทนพลังงาน ที่ได้จากงานวิจัยใหม่ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ และการใช้ประโยชน์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พันธุ์ที่เหมาะสม สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต การปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว กระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเป็นพลังงาน สภาวะการณ์ตลาดและการผลิตในปัจจุบันและอนาคตของพืชทดแทนพลังงานที่สำคัญบางชนิด เช่น ปาล์มน้ำมัน  มะพร้าว อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวฟ่างหวาน สบู่ดำ ฯลฯ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ (เฉพาะรายที่ต้องการ)  2 ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือตามที่มีการแจ้งล่วงหน้าจากนักศึกษา  พร้อมทั้งมีการบันทึกข้อมูลเป็นหลักฐานตามความเหมาะสม
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21022311 เทคโนโลยีการผลิตพืชทดแทนพลังงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1 3.1,4.1,5.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.1,2.1 3.1,4.1,5.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 1.1,2.1 3.1,4.1,5.1 การตรวจแปลงปฎิบัติงานที่มอบหมาย 4-8,10-15 30%
4 1.1,2.1,3.1 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 5%
5 1.1,2.1,3.1 การสอบกลางภาค 8 22%
6 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10%
7 1.1,2.1,3.1 การสอบปลายภาค 16 23%
คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา   2542.  พืชเศรษฐกิจ.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร  กรุงเทพฯ .  471  น.
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  2541. หลักการผลิตพืช. โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตร    แห่งชาติ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน  จ. นครปฐม. 258 น. 
ประดิษฐ์ พีระมาน . 2548 . Farm Energy ทางเลือกพลังงานทดแทนในอนาคต . (ออนไลน์)  เข้าถึงได้จาก http://plantpro.doae.go.th/engineer/WEBPAGE/Energy/sabudum.htm
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดชัยนาท(จักรกลเกษตร).2548  สบู่ดำ (ออนไลน์)  เข้าถึงได้จาก : http://aopdm01.doae.go.th/data/physicnut21.htm
 สถาบันวิจัยพืชไร่  2539. เอกสารวิชาการปลูกพืชไร่ กรมวิชาเกษตร  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์     280 น.
บทความเกี่ยวกับพืชพลังงานทดแทน จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
     1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
     1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ