ศิลปะประจำชาติ
Thai Traditional Art
1.1 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ พื้นฐานศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรมและวรรณกรรมไทย
1.2 เข้าใจรูปแบบเนื้อหาและลักษณะของศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ
1.3 สร้างสรรค์คุณค่าของงานศิลปะประจำชาติ
1.2 เข้าใจรูปแบบเนื้อหาและลักษณะของศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ
1.3 สร้างสรรค์คุณค่าของงานศิลปะประจำชาติ
2.1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ
2.2 เพื่อพัฒนาแผนการสอนที่เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของศิลปะประจำชาติไทย
2.2 เพื่อพัฒนาแผนการสอนที่เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของศิลปะประจำชาติไทย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ พื้นฐานศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฎกรรมและวรรณกรรมไทย
3.1 อาจารย์ผู้สอนประกาศให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน และทางการสื่อสารทางเทคโนโลยีโดยแจ้งให้นักศึกษารับทราบทั่วกัน
3.2 อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาวิชาการเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลจำนวน 1ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยกำหนดระยะเวลาล่วงหน้าและเฉพาะรายที่ต้องการ
3.3 อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน
3.2 อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาวิชาการเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลจำนวน 1ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยกำหนดระยะเวลาล่วงหน้าและเฉพาะรายที่ต้องการ
3.3 อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.1.3 มีจิตอาสา จิตส านึกสาธารณะ
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.1.3 มีจิตอาสา จิตส านึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้
รู้หน้าที่ในการท างาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการด
าเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
าเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
อย่างเป็นระบบ
2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน
ศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
อย่างเป็นระบบ
2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน
ศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน
โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจน เนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือ เชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจน เนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือ เชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากการน าเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.2.3.5 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
2.3.6 ประเมินจากแผนการด าเนินงานศิลปนิพนธ์ที่น าเสนอ
2.3.7 ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากการน าเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.2.3.5 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
2.3.6 ประเมินจากแผนการด าเนินงานศิลปนิพนธ์ที่น าเสนอ
2.3.7 ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี
วิจารณญาน
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ
วิชาชีพได้
3.1.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
วิจารณญาน
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ
วิชาชีพได้
3.1.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การจัดท าโครงงาน หรือการจัดท าศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้น
ข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การน าเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การน าเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการน าเสนองาน
4.1.1 มีภาวะผู้น าเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ
มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ
คิดเห็นที่แตกต่าง
มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ
คิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความส าคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันท าหน้าที่ผู้น าและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการน าเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้
วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และน าเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์
ผลงานหรือการน าเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ส าหรับงานศิลปกรรม
วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และน าเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์
ผลงานหรือการน าเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ส าหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จ าลอง และสถานการณ์เสมือนจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การน าเสนอ
ที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การน าเสนอ
6.1.1 มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
บรรยายค้นคว้าข้อมลู สื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นการ กระตุ้นให้นักศึกษามีความกระ ตือรือร้นในการเรียน
.ประเมินจากพฤติกรรมและ พัฒนาการ ของผู้เรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ตวามรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | 40000001 | ศิลปะประจำชาติ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 8 17 | 20 % 20 % | |
2 | ประเมินการนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 50 % | |
3 | จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
บุญทอง อิ่มลาภผล.ศิลป์ไทย(ชุดภาพเทพเจ้า) :วาดศิลป์ จำกัด. กรุงเทพฯ.2544.
สมคิด หงษ์สุวรรณ.ศิลป์ไทย(ชุดลวดลายประกอบในศิลป์ไทย) :มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.กรุงเทพฯ.2546.
-------------กระหนกนารีกระบี่คชะ :มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.กรุงเทพฯ.2549.
อารี สุทธิพันธ์. ทัศนศิลป์และความงาม (หนังสือชุดทัศนศิลป์ ๕): แสงชัยการพิมพ์.กรุงเทพฯ.2512.
อารี สุทธิพันธ์.การออกแบบฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๒.บริษัทไทยวัฒนาพาณิช จำกัด.กรุงเทพฯ.2524.
อำนาจ เย็นสบาย.ความงาม:ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม,มหาวิทยาลัยประสานมิตร.สีสันการพิมพ์
กรุงเทพฯ.2531
Erwin O Christensen.The History Of Western Art:Mentor Book, New York.1959.
Thame & Hudson.A Concise History of Modern Painting:Read,Herber,London1959.
สมคิด หงษ์สุวรรณ.ศิลป์ไทย(ชุดลวดลายประกอบในศิลป์ไทย) :มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.กรุงเทพฯ.2546.
-------------กระหนกนารีกระบี่คชะ :มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.กรุงเทพฯ.2549.
อารี สุทธิพันธ์. ทัศนศิลป์และความงาม (หนังสือชุดทัศนศิลป์ ๕): แสงชัยการพิมพ์.กรุงเทพฯ.2512.
อารี สุทธิพันธ์.การออกแบบฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๒.บริษัทไทยวัฒนาพาณิช จำกัด.กรุงเทพฯ.2524.
อำนาจ เย็นสบาย.ความงาม:ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม,มหาวิทยาลัยประสานมิตร.สีสันการพิมพ์
กรุงเทพฯ.2531
Erwin O Christensen.The History Of Western Art:Mentor Book, New York.1959.
Thame & Hudson.A Concise History of Modern Painting:Read,Herber,London1959.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
- วารสาร เมืองโบราณ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวความคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย