เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์

Computer Drawing Practices

1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานเขียนแบบเครื่องกล
2. เพื่อให้สามารถเขียนภาพแยกชิ้นส่วน และภาพประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล การกำหนดขนาด สัญลักษณ์ จัดทำตารางรายการวัสดุและเขียนภาพการนำเสนองาน                
3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการท างานที่มีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้าน การออกแบบ เขียนแบบ  การนำเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น AutoCAD , Solid Works  หรือโปรแกรมอื่น ๆ 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้านการออกแบบ เขียนแบบ  การนำเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น AutoCAD , Solid Works  หรือ โปรแกรมอื่น ๆ
-
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและความรับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปราย กลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบบรรยาย 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน 
1 มีความรู้และความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถบูรณาการความรู้ ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)  
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปราย กลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปราย กลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)  
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
11. การสอนแบบบรรยาย
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน 
1 มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้าน วิชาการหรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้ มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)  
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
7. การสอนแบบบรรยาย   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.ข้อสอบอัตนัย
6. ข้อสอบปรนัย
7.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
8.การประเมินตนเอง 
1  มีมนุษยสัมพันธ์และ มารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3  สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ อย่างเหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปราย กลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปราย กลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)  
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบบรรยาย
1. โครงการกลุ่ม
2.นิทรรศการ
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทาง อินเตอร์เน็ตการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการ สืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
การนำเสนองาน 
1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วย ตนเอง
2 สามารถปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้องแม่นยำ 
3 สามารถปฏิบัติงานได้โดย อัตโนมัติเป็นธรรมชาติ 
ปฏิบัติการในห้องทดลอง ปฏิบัติภาคสนาม/สถาน ประกอบการ สหกิจศึกษา/ฝึกงาน โครงงาน  ส่วนการปฏิบัติการใน ห้องปฏิบัติการ หรือการใช้ เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะ ทางปัญญา 
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 2 3 2 3
1 34013201 เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,3.1.1 2.1.2, 3.1.1 4.1.1, 4.1.3 ,5.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 1-16 10
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk AutoCAD 2016 สำนักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk AutoCAD 2014 สำนักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2008  ส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),  
ภาพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2012 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2015 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor(Profrestional) 2012  ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),  
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อแนะน าผ่านเว็บบอร์ดใน LMS ประจ ารายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับ นักศึกษา
2.1 สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
2.4 เน้นกระบวนการผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้นักศึกษาเป็นตัวกลางในการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการ ระดมสมอง สรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน และจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการ เรียนการสอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรร
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบ มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4