คุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

Quality of Aquatic Animal and Products

1. รู้จักชนิดสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์ส่งออกที่สำคัญ
2. เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสัตว์น้ำหลังถูกจับจนกระทั่งก่อนแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
3. เข้าใจถึงการประเมินคุณภาพของสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์
4. เข้าใจถึงหลักการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำประเภทต่างๆ
5. ทราบถึงหลักการในการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและมีทักษะด้านคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์มากขึ้น
 2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
 3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ หลักเบื้องต้นในการเตรียมและเก็บรักษาสัตว์น้ำสำหรับแปรรูปผลิตภัณฑ์ การเสื่อมเสียคุณภาพของวัตถุดิบสัตว์น้ำก่อนการแปรรูป การตรวจสอบคุณภาพของสัตว์น้ำ การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ กฎหมายและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
วัน พุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักครูสาขาวิชาประมง  โทร 081-9829578
e-mail; supaphon63@hotmail.co.th Line, Facebook เวลา 20.00 – 22.00 น. ทุกวัน
1.2 ,1.4
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การทำงาน และการนำเอาความรู้ที่ได้จากวิชาคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์
- มอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม
- อภิปรายกลุ่ม
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1
- บรรยายเกี่ยวกับชนิดสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์ส่งออกที่สำคัญ,การเปลี่ยนแปลงของสัตว์น้ำหลังถูกจับจนกระทั่งก่อนแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
,การประเมินคุณภาพของสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์,หลักการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำประเภทต่างๆ,หลักการในการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
-  มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าบทความ ความรู้ใหม่ๆ หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์
- มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
- ประเมินผลจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล ความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
3.2
- มีบทปฏิบัติการให้นักศึกษาได้ทดลองทำผลิตภัณฑ์ทางประมงประเภทต่างๆ ตามกระบวนการ               
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา โดยแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้มีการระดมสมองในการแก้ไขปัญหา และวิจารณ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
- ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน
- การทดสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค
-  การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
4.1, 4.2, 4.4
- มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
- แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่ม
- ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมายทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
-ตรวจสอบความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
- สังเกตและให้นักศึกษาประเมินการทำงานของสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชาทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
5.1, 5.2, 5.3
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากอินเตอร์เน็ต, หนังสือในห้องสมุด และแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- ทำรายงานโดยเน้นแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  เช่น การใช้ Power point ที่เข้าใจ
- ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงานและการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมและความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอเข้าใจง่าย   
6.2
- อธิบายวิธีการปฏิบัติ และลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
- สาธิตและแนะนำทักษะการปฏิบัติ กำชับการควบคุมระหว่างกระบวนการปฏิบัติ และมีการสอบภาคปฏิบัติ
- ประเมินความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
- ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 23011311 คุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.2, สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8และ17 30% 30%
นงลักษณ์ สุทธิวนิช.  2531.  คุณภาพสัตว์น้ำ.  ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ประเสริฐ สายสิทธิ์.  2516.  ผลิตภัณฑ์ประมงและหลักการถนอม.  คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มัทนา แสงจินดาวงษ์.  2538.  จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ประมง.  ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2545.  ผลิตภัณฑ์ประมง.  ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สุทธวัฒน์  เบญจกุล,ดร.  2548.  เคมีและคุณภาพสัตว์น้ำ.  สำนักพิมพ์โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ.  344 น. อรวรรณ คงพันธุ์ รัศมีพร จิระเดชประไพ และวัชรี คงรัตน์.  2550.  การแปรรูปสัตว์น้ำ.  กองพัฒนาอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 
บทความเกี่ยวกับคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ประมงต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1. ผลการทดสอบย่อย (Quiz)
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น คือ มีการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4