ระบบสารสนเทศในองค์กร

Information System in Organization

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน องค์ประกอบ ประโยชน์การใช้งานระบบสารสนเทศโครงสร้างของระบบสารสนเทศ ผลกระทบ การใช้งานระบบสารสนเทศต่อสังคม เป็นนักเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและโครงสร้างของระบบสารสนเทศ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี โครงสร้างของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการแข่งขัน และการตอบสนองต่อองค์กร ระบบข่าวสารและทฤษฎีในการตัดสินใจ การพัฒนาและการจัดการทรัพยากรสารสนเทศในธุรกิจ แหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้แนวโน้มในอนาคตของระบบสารสนเทศ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
- วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้องพักอาจารย์ระบบสารสนเทศฯ โทร. 082-1859680
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
™ 1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
™ 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
™ 1.4เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
™1.6สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
™1.7มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
™2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
™ 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
˜ 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
™2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
™ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
™ 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
™ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
˜3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
˜3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
™4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
™4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
™4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
˜5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
™5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
™5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.ใช้ Power point
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.6,2.1,2.4- 2.6,3.2 -ผลงานที่ได้รับมอบหมาย -สอบกลางภาค 7 9 10% 30%
2 2.1,2.2, 2.5, 3.1,3.3,3.4 4.1 -4.6 , 5.3,54 -วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน -การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1,2.2-2.5, 3.1,3.3,3.4 -สอบปลายภาค 18 30%