ออกแบบบรรจุภัณฑ์
Packaging Design
1.รู้ประวัติ ความเป็นมา และความหมายของบรรจุภัณฑ์
2. เข้าใจความสำคัญบทบาทหน้าที-ของบรรจุภัณฑ์
3.เข้าใจประเภท โครงสร้างของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ชนิดคืนรูป และชนิดคงรูป
4.เข้าใจงานกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
5.ออกแบบบรรจุภัณฑ์
6.มีทัศนคติที่ดี ในการศึกษาวิชาออกแบบบรรจุภัณฑ์
2. เข้าใจความสำคัญบทบาทหน้าที-ของบรรจุภัณฑ์
3.เข้าใจประเภท โครงสร้างของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ชนิดคืนรูป และชนิดคงรูป
4.เข้าใจงานกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
5.ออกแบบบรรจุภัณฑ์
6.มีทัศนคติที่ดี ในการศึกษาวิชาออกแบบบรรจุภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ชนิดคืนรูป และชนิดคงรูป และนำไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต
ศึกษาและปฏิบัติงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ชนิดคืนรูปและคงรูป ในเรื่องของประวัติ ความหมายความสำคัญ บทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ในด้านการออกแบบโครงสร้างและการออกแบบกราฟิก
1.นอกเวลาเรียนอาจารย์ได้แจ้งให้ผู้เรียนปรึกษาได้ 3ทางคือ 1.ผ่านทางอีเมล์ผู้สอน และ 2.ผ่านทางเครื่องข่ายออนไลท์ของกลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ ใน facebook.
2.ในคณะฯ หลังชั่วโมงเรียนเสร็จสิ้นตามตารางสอนให้ผู้เรียนปรึกษาได้ในชั่วโมงที่ว่างในตาม
ตารางสอนอาจารย์ อย่างอิสระ โดยไม่ได้กำหนดชั่ว โมงต่อสัปดาห์
2.ในคณะฯ หลังชั่วโมงเรียนเสร็จสิ้นตามตารางสอนให้ผู้เรียนปรึกษาได้ในชั่วโมงที่ว่างในตาม
ตารางสอนอาจารย์ อย่างอิสระ โดยไม่ได้กำหนดชั่ว โมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
ประวัติ ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญ บทบาทหน้าที่ เข้าใจประเภทโครงสร้าง และงานกราฟิกของบรรจุภัณฑ์
บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
การแก้ปัญหาด้านความเหมาะสมของการบรรจุภัณฑ์
3.2.1 นำตัวอย่างผลงานบรรจุภัณฑ์ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ ในด้าน การออกแบบโครงสร้าง และ
กราฟิก รวมทั้งความเหมาะสมทางกายภาพ ของวัสดุที่ใช้ กับสินค้าบรรจุภายใน
กราฟิก รวมทั้งความเหมาะสมทางกายภาพ ของวัสดุที่ใช้ กับสินค้าบรรจุภายใน
3.3.1 สอบกลางและสอบปลายภาค
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1. มีทักษะในด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
2. มีทักษะการสร้างต้นแบบบรรจุภัณฑฺ์
3. มีทักษะในการใช้ เครื่องมือเพื่อการออกแบบ
1. อธิบายทฤษฎีและมอบหมายงานปฏิบัติตามทฤษฎีมาใช้
2. มอบหมายงานให้ค้นคว้าข้อมูล เพื่อนำเสนอ
การสอบกลางภาคและปลายภาค
ผลงานการปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | 43023355 | ออกแบบบรรจุภัณฑ์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3.1, 3.3.1, | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 8 17 | 15% 15% |
2 | 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 | การปฏิบัติงานและผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา | 50% 10% |
3 | 1.3.1 | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. การจัดจำหน่าย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วังอักษร,2537
2.. ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ:โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส์,2531
3.. ปุ่น คงเจริญเกียรติ. บรรจุภัณฑ์อาหาร.กรุงเทพฯ:บริษัท แพคเมทส์ จำกัด,2541
4.. พันธิพา จันทร์วัฒน์. การบรรจุหีบห่อ. วรสารบรรจุภัณฑ์. ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย.ปีที-1.ฉบับที-1,2527
5.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.คู่มือการใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ.
กรุงเทพฯ: ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย,2546
6.. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์.
กรุงเทพฯ: ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย,2545
7.สุดาดวง เรืองรุจิระ. นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ประกายพรึก,2538
8. Akizuki Shigeru. Box by four Package Design. Rikuyo - Sha Phblishing,Inc ND.
9. Haresh Pathak. Structural Package Design . The Pepin Press,1998 ND.
1. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. การจัดจำหน่าย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วังอักษร,2537
2.. ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ:โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส์,2531
3.. ปุ่น คงเจริญเกียรติ. บรรจุภัณฑ์อาหาร.กรุงเทพฯ:บริษัท แพคเมทส์ จำกัด,2541
4.. พันธิพา จันทร์วัฒน์. การบรรจุหีบห่อ. วรสารบรรจุภัณฑ์. ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย.ปีที-1.ฉบับที-1,2527
5.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.คู่มือการใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ.
กรุงเทพฯ: ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย,2546
6.. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์.
กรุงเทพฯ: ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย,2545
7.สุดาดวง เรืองรุจิระ. นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ประกายพรึก,2538
8. Akizuki Shigeru. Box by four Package Design. Rikuyo - Sha Phblishing,Inc ND.
9. Haresh Pathak. Structural Package Design . The Pepin Press,1998 ND.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน www.pinterest.com www.templatemaker.nl/
www.vecteezy.com https://99designs.com/blog/trends/packaging-trends-2017/
www.vecteezy.com https://99designs.com/blog/trends/packaging-trends-2017/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์