สิ่งแวดล้อมทางการประมง

Fisheries Environment

1. เข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
2. เข้าใจแนวความคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางน้ำ
3. รู้เกี่ยวกับมลพิษทางน้ำ   
4. เข้าใจชีววิทยาน้ำเสียและผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางการประมง
5. เข้าใจแนวทางการแก้ไขและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางการประมง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางด้านการประมง และปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางด้านการประมงและด้านอื่น ๆ
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม  แนวความคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางน้ำ  ความรู้เกี่ยวกับมลพิษทางน้ำ  ชีววิทยาน้ำเสียและผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางการประมง  แนวทางการแก้ไขและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางการประมง
วัน พุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง พักครูสาขาวิชาประมง  โทร 081-9829578
e-mail; supaphon63@hotmail.co.th  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.3
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การทำงาน และการนำเอาความรู้ที่ได้จากวิชาสิ่งแวดล้อมทางการประมงไปใช้ในชีวิตจริง
- มอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม
- อภิปรายกลุ่ม
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.1
- บรรยายเกี่ยวกับเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ,แนวความคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางน้ำ,มลพิษทางน้ำ    ,ชีววิทยาน้ำเสียและผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางการประมง,แนวทางการแก้ไขและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางการประมง
-  มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าบทความ ความรู้ใหม่ๆ หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องสิ่งแวดล้อมทางการประมง
- มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
- ประเมินผลจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล ความสนใจและซักถาม
3.2
- มีบทปฏิบัติการให้นักศึกษาได้ปฎิบัติ ตามกระบวนการ               
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา โดยแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้มีการระดมสมองในการแก้ไขปัญหา และวิจารณ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
- ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน
- การทดสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค
-  การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
4.2
- มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
- แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่ม
- ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมายทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
-ตรวจสอบความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
- สังเกตและให้นักศึกษาประเมินการทำงานของสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชาทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
5.1
 - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากอินเตอร์เน็ต, หนังสือในห้องสมุด และแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- ทำรายงานโดยเน้นแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  เช่น การใช้ Power point ที่เข้าใจ
- ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงานและการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมและความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอเข้าใจง่าย   
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 4 3 2 3 1 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 23011312 สิ่งแวดล้อมทางการประมง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8และ17 30%, 30%
2 4.1, 4.2, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 6.2 ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.2, 1.4 การเข้าชั้นเรียน การอภิปรายซักถามในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- เกษม  จันทร์แก้ว.  2553.  วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม.  พิมพ์ครั้งที่8, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
              กรุงเทพมหานคร,  357 น.
 
   - กัณฑรีย์  ศรีพงศ์พันธุ์.  2547.  พิมพ์ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์. 
             นครปฐม, 431 น.
 
   -  ขวัญฤดี  โชติชนาทวีวงศ์ และคณะ.  2545.  ตำราระบบบำบัดมลพิษน้ำ.  สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม  
             แห่งประเทศไทย.  กรุงเทพมหานคร, 395 น.
 
   - เปี่ยมศักดิ์  เมนะเศวต.  2539.  แหล่งน้ำกับปัญหามลพิษ.  พิมพ์ครั้งที่ 7, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 
             กรุงเทพมหานคร, 318 น. 
 
   - วศิน  อิงคพัฒนากุล.  2548.  นิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม.  มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง     
             สนามจันทร์.  นครปฐม, 232น.
 
   - สนิท  อักษรแก้ว.  2542.  ป่าชายเลน นิเวศวิทยาและการจัดการ.  พิมพ์ครั้งที่ 3,
             มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพมหานคร, 272 น.
 
   - สุวัจน์  ธัญรส.  2550.  วิทยาศาสตร์ทางทะเลเบื้องต้น.  โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.  กรุงเทพมหานคร, 264 น.
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในลักษณะรายวิชาเช่น Wikipedia, www.google.com   
 
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
 - การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- ผลการสอบ
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น คือ มีการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4