การท่องเที่ยวเชิงเกษตร

Agro Tourism

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากร รูปแบบ และลักษณะการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทั้งภาครัฐและเอกชน
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบการพัฒนาและส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในโครงการตามแนวพระราชดำริต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบและลักษณะการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมถึงโครงการตามแนวพระราชดำริ  เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการทำงานได้
ศึกษาแนวคิด ทรัพยากร รูปแบบและลักษณะการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมถึงโครงการตามแนวพระราชดำริ ตลอดจนการพัฒนาและส่งเสริมด้านการตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีการศึกษาดูงานและ/หรือฝึกปฏิบัติ
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ผ่านทางป้ายประกาศของสาขาวิชา อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) นักศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ได้ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทางอีเมลล์และโทรศัพท์มือถือ ในเวลาราชการ
1.1.1  มีความซื่อสัตย์สุจริตและสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำและเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
1.1.4 มีวินัยในการทำงานและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1  เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
1.2.2  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
1.2.3  สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
1.3.3 ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
รู้และเข้าใจ  รูปแบบและลักษณะการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมถึงโครงการตามแนวพระราชดำริ ตลอดจนการพัฒนาและส่งเสริมด้านการตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
2.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
2.2.2  อภิปรายหลังการทำกิจกรรม หรือสถานการณ์จำลอง
2.2.3  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้  (Problem – based Learning)
2.3.1  ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3 ประเมินจากการจัดทำรายงาน
3.3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของประเทศไทยรวมทั้งมีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนามในแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรต่างๆ และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม เพื่อนำมาปรับใช้ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด
3.2.1 การบรรยายในชั้นเรียน การถาม-ตอบ และการแสดงความคิดเห็นด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรร่วมกัน
3.2.2 การค้นคว้าและทำรายงานด้านการเกษตรทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
3.2.3 การศึกษาดูงานนอกสถานที่และทำรายงาน
3.3.1  ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์เมื่อมีสถานการณ์จำลองซึ่งเป็นข้อชี้วัดหนึ่งในการให้คะแนนปฏิบัติได้
3.3.2  พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่มการประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
4.1.1  มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
4.1.2  มีความสามารถในการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1.3 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
4.3.1  นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน
4.3.3  ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
4.3.4 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.3.5 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลและนำเสนอรายงาน
5.1.1  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.5.2 มีความสามารถในการสื่อสารในเรื่องของการบริการด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในสถานที่ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมรวมทั้งการเลือกใช้คำได้อย่างถูกต้อง
5.5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารรู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.5.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย  และตารางตัวเลข  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.3 จัดโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่เหมาะสม
5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1-2.3,3.1-3.3,5.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 18 20% 30%
2 1.1,2.1-2.3,3.1-3.3,4.1-4.3,5.1-5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1-1.3,4.1-4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร Agro Tourism Management สาขาวิชาการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- กรมวิชาการเกษตร: คู่มือท่องเที่ยวเชิงเกษตร: 2547
- การทองเที่ยวแห่งประเทศไทย: ความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว: กรุงเทพฯ: 2533
- การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน: 2548 พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัท ธรรมสาร จำกัด นนทบุรี.
- ชูสิทธิ์ ชูชาติ : อุตสาหกรรมท่องเที่ยว: เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์ :2542
- เวปไซต์ที่เกี่ยวข้อง
            การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

1.4 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
    2.1ประเมินจากการจัดกิจกรรม
    2.2ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
2.3สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2และ3 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
                    3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยจากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.3 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี