สัมมนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

Seminar in Food Science and Technology

เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจถึงวิธีการค้นคว้า สืบค้นข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ลักษณะการตีความเอกสารเชิงวิชาการ วิเคราะห์ การเรียบเรียงข้อมูลในเรื่องความก้าวหน้า และปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เขียนรายงานและเสนอเรื่องในที่ประชุมเพื่ออภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้
เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูลแบบต่างๆ ที่เป็นบทความหรือเอกสารเชิงวิชาการในเรื่องความก้าวหน้า และปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอหาร นำมาตีความ วิเคราะห์ เรียบเรียงข้อมูล เขียนรายงานและเสนอเรื่องในที่ประชุมเพื่ออภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FT202 โทร...054 710 259 ต่อ 1601
         3.2  e-mail; punyain.s@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสานึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่าเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต  1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.อธิบายข้อปฏิบัติในวิชาเรียนสัมมนา เช่น หัวข้อสัมมนา การค้นคว้า การส่งหัวข้อ การเขียน ตลอดจนการเข้าชั้นเรียนและระหว่างการสัมมนา 2. อธิบายจรรยาบรรณในการนาผลงานผู้อื่นมาใช้จะต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติเจ้าของผลงาน
1.ประเมินจากการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติในวิชาเรียน เช่น การส่งหัวข้อสัมมนา การส่งรายงานตามกาหนดเวลา การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่าเสมอ และการซักถามในระหว่างสัมมนา 2. ประเมินจากการถามและตอบ ด้วยความเคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกาหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
- มอบหมายงานให้นักศึกษารวบรวมและเรียบเรียงข้อมูล นาเสนอผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในชั้นเรียน
1. ประเมินจากความต่อเนื่องและเชื่อมโยงของเนื้อหาที่นาเสนอ 2. ประเมินจากการตอบคาถามจากความเข้าใจ และแสดงความคิดเห็นในการเชื่อมโยงความรู้
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทาความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคาแนะนา
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสาคัญของสาขาวิชา
กระตุ้นการสร้างคาถามในชั้นเรียน
การตอบคาถามหลังการนาเสนอสัมมนา
4.1 ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นากลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายงานรายบุคคลและกาหนดระยะเวลาส่งงาน 2. กระตุ้นการแสดงความคิดเห็นหรือการแสดงออกในชั้นเรียน
1. ส่งงานในเวลาที่กาหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กาหนด 2.สร้างคาถามและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมในชั้นเรียน
5.1 สามารถระบุและนาเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนาเสนอที่เหมาะสมสาหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสาคัญของวิชา นั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่าเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม  5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานในการสืบค้นหัวข้อทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร แนะนาแหล่งสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและวารสารที่เกี่ยวข้อง 2. นาเสนอข้อมูลในชั้นเรียนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
1.หัวข้อในการนาเสนอได้รับการตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ 2. ประเมินความต่อเนื่องของเนื้อหา ความเข้าใจ การสรุปประเด็นปัญหา ด้วยสื่อที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1
1 24120405 สัมมนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 1.4, 1.5, 4.1 ประเมินจากการส่งงานตามกาหนดเวลา เช่น การส่งหัวข้อสัมมนา การส่งบทคัดย่อ การส่งรายงาน / การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่าเสมอและการซักถาม 1-15 30%
2 2.1, 2.3, 3.1, 4.4, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5, 5.6, 5.7 ประเมินจากการนาเสนอหัวข้อสัมมนา (บุคลิกภาพ การนาเข้าสู่เนื้อหา ลาดับความต่อเนื่องของเนื้อหา ความน่าสนใจและชัดเจนของสื่อ การตอบคาถาม) 5-15 50%
3 1.3, 5.2, 5.3,5.7 รายงานสัมมนา 17 20%
ณัฐพงศ์ เกศมาริษ. 2545. เทคนิคการนาเสนออย่างมืออาชีพ. เอ็กซเปอร์เน็ท. กรุงเทพฯ. สมจิตร เกิดปรางค์. 2545. การสัมมนา. โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ : กรุงเทพฯ.
วารสารภาษาอังกฤษ เช่น Journal of Food Science, Food Technology, Journal of Food Engineering, Food Chemistry, Food Science and Technology, Meat Science เอกสารงานวิจัยเต็มจากฐานข้อมูลต่าง ๆ เช่น http://tdc.thailis.or.th/tdc/, www.sciencedirect.com, www.springerlink.com เป็นต้น
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา รวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา 1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.2 ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางอื่น เช่น เวปบอร์ดมหาวิทยาลัย/ facebook รายวิชา เป็นต้น
- ทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรม KM ระหว่างอาจารย์ผู้สอน หรือจากความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต เพื่อนาไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป
อาจารย์ผู้สอนมีการประเมินความเหมาะสมของการให้คะแนนและเกณฑ์วัดผลการเรียนรู
ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา